Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1553
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorJATURON KAEWBUTen
dc.contributorจาตุรนต์ แก้วบุตรth
dc.contributor.advisorWatcharin Jinwuthen
dc.contributor.advisorวัชรินทร์ จินต์วุฒิth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Architectureen
dc.date.accessioned2020-10-27T07:42:10Z-
dc.date.available2020-10-27T07:42:10Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1553-
dc.descriptionMaster of Architecture Program (M.Arch.)en
dc.descriptionสถาปัตยกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สถ.ม.)th
dc.description.abstractThe purpose of this research was to study the history, development, patterns of fresh markets in Uttaradit, including their layouts and functions of the fresh markets from the Sukhothai Period to the present. Uttaradit in the past was an important trading center of the northern region since the era that mainly had a water transportation until being changed into the current rail and road system. This research investigated its history from various related documents, analyzed them, and compared the development, including various factors that affected the market changes in each period. The research findings showed that, regarding the fresh markets of Uttaradit in the Sukhothai Period, there were Thung Yang Land Market and Tha It Floating Market as important markets. Thung Yang Market was an open courtyard, located within the city center. Tha It Market was a floating market, including selling things on boats in the water and temporary sheds. Until the Ayutthaya Period to the early Rattanakosin Period, Tha Sao Floating Market and Tha Pho Floating Market emerged. For the land market, ThungYang Market lost its importance. The 3 architectural patterns of the markets still looked like houseboat, boat selling things, and temporary shed. This was the same as in the Sukhothai Period. However, in the late Rattanakosin Period, during the reign of King Rama V to Rama VI, the floating markets of Uttaradit declined due to the development of road and rail transport systems and governance changes. These caused the patterns of floating markets to disappear. The only remaining pattern was the land market that were wooden houses and concrete commercial buildings near the train station and the river. Since the reign of King Rama VII onwards, there has been a pattern of large land markets as large permanent buildings, and they are still in use until today. The results of this research gives an insight into the historical development and factors affecting market changes which consisted of transportation, governance, market standards, fire incidents, and physical factors. This is crucial data for the study of architectural history of Uttaradit in the future.  en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประวัติศาสตร์ พัฒนาการ รูปแบบตลาดสดเมืองอุตรดิตถ์ รูปแบบผังและการใช้สอยพื้นที่ของตลาดสด  ตั้งแต่ยุคสุโขทัยถึงปัจจุบัน  เนื่องจากเมืองอุตรดิตถ์ในอดีตนั้น  เป็นแหล่งค้าขายแลกเปลี่ยนที่สำคัญของภาคเหนือ ตั้งแต่ยุคที่มีการคมนาคมทางน้ำเป็นหลัก  จนกระทั่งเปลี่ยนแปลงเป็นระบบรางและถนนในปัจจุบัน  โดยในงานวิจัยนี้ได้ทำการศึกษาประวัติศาสตร์จากเอกสารต่างๆ ที่เกี่ยวข้อง  และนำมาวิเคราะห์  เทียบเคียงเพื่อทราบถึงพัฒนาการ  รวมถึงปัจจัยต่างๆที่ส่งผลต่อความเปลี่ยนแปลงของตลาดในแต่ละช่วงเวลา  ผลการศึกษาพบว่า  ตลาดสดของเมืองอุตรดิตถ์ในยุคสุโขทัยนั้น  มีตลาดบกเมืองทุ่งยั้งและตลาดน้ำหาดท่าอิฐเป็นตลาดที่สำคัญ  ตลาดบกเมืองทุ่งยั้งมีลักษณะเป็นลานโล่ง ตั้งอยู่ภายในตัวเมือง  ตลาดน้ำหาดท่าอิฐเป็นรูปแบบตลาดเรือนแพ เรือค้าขายในน้ำและเพิงชั่วคราว  จนกระทั่งช่วงยุคอยุธยาถึงยุครัตนโกสินทร์ตอนต้น    เกิดตลาดน้ำหาดท่าเสาและตลาดน้ำหาดท่าโพธิ์เพิ่มขึ้นมา จากเดิมที่มีแค่ตลาดน้ำหาดท่าอิฐ ส่วนตลาดบกเมืองทุ่งยั้งหมดความสำคัญลงไป  รูปแบบสถาปัตยกรรมตลาดทั้ง 3 แห่ง ยังคงมีลักษณะเป็นเรือนแพ เรือค้าขายและเพิงชั่วคราว เช่นเดียวกับยุคสุโขทัย  อย่างไรก็ตามในยุครัตนโกสินทร์ตอนปลาย ช่วงรัชกาลที่ 5 ถึง รัชกาลที่ 6 ตลาดน้ำเมืองอุตรดิตถ์เข้าสู่ยุคเสื่อมถอย  เนื่องจากการพัฒนาระบบคมนาคมทางถนน  และรถไฟ  รวมทั้งการเปลี่ยนแปลงด้านการปกครอง  ทำให้รูปแบบตลาดน้ำหายไป  เหลือเพียงเป็นรูปแบบตลาดบกที่มีลักษณะอาคารของห้องแถวไม้ และตึกแถวคอนกรีต ที่อยู่ใกล้สถานีรถไฟและแม่น้ำ ทั้งนี้ตั้งแต่รัชกาลที่ 7 เป็นต้นมา เกิดรูปแบบตลาดบกมีลักษณะของอาคารถาวรขนาดใหญ่และยังมีการใช้งานจนถึงปัจจุบัน  ผลจากการศึกษาวิจัยนี้  ทำให้ทราบถึงพัฒนาการทางประวัติศาสตร์และปัจจัยที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงตลาด ประกอบไปด้วย  การคมนาคม  การปกครอง  มาตรฐานตลาด  เหตุการณ์ไฟไหม้ตลาดและปัจจัยด้านกายภาพที่ตั้ง  เป็นข้อมูลสำคัญในการศึกษาประวัติศาสตร์สถาปัตยกรรมเมืองอุตรดิตถ์ในอนาคตth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectประวัติศาสตร์th
dc.subjectพัฒนาการth
dc.subjectตลาดสดth
dc.subjectอุตรดิตถ์th
dc.subjectHistoryen
dc.subjectDevelopmenten
dc.subjectFresh marketen
dc.subjectUttaraditen
dc.subject.classificationArts and Humanitiesen
dc.titleประวัติศาสตร์ทางสถาปัตยกรรมรูปแบบตลาดสดเมืองอุตรดิตถ์th
dc.titleHistorical architecture of the fresh market in Uttaraditen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสถาปัตยกรรมศาสต์ ศิลปะและการออกแบบ

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58060730.pdf13.12 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.