Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1546
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNAMPHET NASAREEen
dc.contributorน้ำเพชร นาสารีย์th
dc.contributor.advisorRattana Buosonteen
dc.contributor.advisorรัตนะ บัวสนธ์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Educationen
dc.date.accessioned2020-10-27T07:41:49Z-
dc.date.available2020-10-27T07:41:49Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1546-
dc.descriptionDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.descriptionการศึกษาดุษฎีบัณฑิต (กศ.ด.)th
dc.description.abstractThe research aimed to develop pre-service teachers’ assessment literacy through blended training model. The process were research and development and devided into 4 phases as follows: 1) study the level of assessment literacy and  the need assessment to develop the assessment literacy  2) create  and assessment the blended training model for develop assessment literacy 3) use a blended training model and 4) validate and assessment  a blended training model. The participants were pre-service teachers, experts, mentor teachers and supervising teachers. Research instruments included assessment literacy test, need assessment for assessment literacy development questionnaire. website, semi-structured interviews, satisfaction questionnaire, and appropriateness evaluation form. Data were analyzed quantitatively by descriptive statistics including mean, standard deviation, modified priority needs index (PNImodified); as well as inferential statistics including t-test. On the other hand, qualitative data were analyzed by using content analysis.             The research results showed that: 1.Pre-service science teachers’ knowledge and understanding about assessment literacy were lower than 50% (46.53%) and the ranking of  need assessment for assessment literacy development from high to low were: (1) assessment tools and methods. (2) learning theories and pedagogical content knowledge (3) using assessment results (4) communicating the assessment results (5) assessment purposes (6) assessment fairness and (7) score and grading. 2. The blended training model consisted of 9 components such as (1) theory and principles (2) objectives (3)Qualifications and roles of trainees and trainers (4) Contents (5) Training methods and training activities (6) Environment and learning resources (7) The operation and time spent on training (8) evaluation and (9) manual for the model Integrated training consists of Web-based Training (WBT) combined with face-to-face training. (Face-to-Face Learning) in the proportion of 70:30 percent. 3. Pre-service teachers’ knowledge and understanding about assessment literacy from using the blended training model was significantly higher than prior using (p < .01), Pre-service teachers’ satisfaction toward blended training model was high. More than 80% of pre-service teachers’ behaviors that demonstrated having "assessment literacy" 4. The training model was actually possibilities accuracy appropriateness and usefulness at highest level.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาการรู้เรื่องการประเมินของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูโดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสาน ดำเนินการวิจัยโดยใช้กระบวนการวิจัยและพัฒนา โดยแบ่งขั้นตอนการวิจัยออกเป็น 4 ขั้นตอน ดังนี้ ขั้นตอนที่ 1  การศึกษาสภาพการรู้เรื่องการประเมินและประเมินความต้องการจำเป็นในการรู้เรื่องการประเมิน ขั้นตอนที่ 2  การสร้างและประเมินรูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานเพื่อพัฒนาการรู้เรื่องการประเมิน ขั้นตอนที่ 3  การทดลองใช้รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯ และขั้นตอนที่ 4 การประเมินและปรับปรุงรูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯ ผู้เข้าร่วมการวิจัย ได้แก่  นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู  ระดับปริญญาตรี คณะศึกษาศาสตร์หรือครุศาสตร์ สถาบันอุดมศึกษาในกลุ่มมหาวิทยาลัยรัฐ  ผู้ทรงคุณวุฒิ ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศ เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบวัดการรู้เรื่องการประเมิน แบบประเมินความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการรู้เรื่องการประเมิน  คู่มือการใช้รูปแบบฯ  เว็บไซต์  แบบสัมภาษณ์กึ่งโครงสร้าง แบบประเมินความพึงพอใจ และแบบประเมินคุณภาพของรูปแบบฯ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติบรรยาย ได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน จัดเรียงลำดับความต้องการจำเป็นด้วยสูตร (PNIModified)   สถิติสรุปอ้างอิง ได้แก่ สถิติทดสอบที (t-test) และทำการสังเคราะห์เนื้อหาสำหรับข้อมูลเชิงคุณภาพ             ผลการวิจัยพบว่า             1) สภาพความรอบรู้ เรื่อง “การรู้เรื่องการประเมิน”ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครูโดยรวมมีค่าเฉลี่ยต่ำกว่าคะแนนร้อยละ 50 (46.53%)  และเมื่อจัดลำดับความสำคัญของความต้องการจำเป็นในการพัฒนาการรู้เรื่องการประเมิน เรียงลำดับจากค่ามากที่สุดไปหาค่าน้อยที่สุด คือ (1) เครื่องมือและวิธีการที่ใช้ในการประเมิน (2) ทฤษฎีการเรียนรู้และความรู้เนื้อหาผนวกวิธีการสอน (3) การนำผลประเมินมาใช้ (4) การสื่อสารผลการประเมิน (5) วัตถุประสงค์การประเมิน (6) การประเมินอย่างเป็นธรรม และ (7) คะแนนและการตัดเกรด ตามลำดับ             2) รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯ มีองค์ประกอบสำคัญทั้งหมด 9 องค์ประกอบคือ (1) ทฤษฎีพื้นฐานและหลักการ  (2) วัตถุประสงค์  (3) คุณสมบัติและบทบาทของผู้เข้ารับการฝึกอบรมและผู้ดำเนินรายการฝึกอบรม (4) เนื้อหาสาระ (5) วิธีการฝึกอบรมและกิจกรรมการฝึกอบรม  (6) สภาพแวดล้อมและแหล่งทรัพยากรการเรียนรู้  (7) การดำเนินงานและเวลาที่ใช้ในการฝึกอบรม (8) การประเมินผล และ (9) คู่มือการใช้รูปแบบ  โดยการฝึกอบรมตามแบบผสมผสานประกอบด้วยวิธีการฝึกอบรมผ่านเว็บ (Web-based Training : WBT)  ร่วมกับการฝึกอบรมแบบเผชิญหน้า (Face-to-Face Learning) ในสัดส่วนร้อยละ 70:30                3) ผลการทดลองใช้รูปแบบฯ พบว่า นักศึกษาฝึกประสบการวิชาชีพครูมีความรอบรู้ เรื่อง “การรู้เรื่องการประเมิน”ภายหลังการทดลองใช้รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯสูงกว่าก่อนทดลองใช้อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 มีความพึงพอใจที่มีต่อรูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯโดยรวมอยู่ในระดับมากที่สุด  และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมากกว่าร้อยละ 80 มีพฤติกรรมการปฏิบัติงานที่แสดงออกถึงการมี “การรู้เรื่องการประเมิน”             4) รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานฯหลังทดลองใช้มีมีความเป็นไปได้ ความถูกต้องความเหมาะสมและความเป็นประโยชน์อยู่ในระดับมากที่สุดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการรู้เรื่องการประเมิน การฝึกอบรมแบบผสมผสานth
dc.subjectนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูth
dc.subjectAssessment Literacyen
dc.subjectBlended Trainingen
dc.subjectPre-service teacher in scienceen
dc.subject.classificationComputer Scienceen
dc.titleการพัฒนาการรู้เรื่องการประเมินของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยใช้รูปแบบการฝึกอบรมแบบผสมผสานth
dc.titleTHE DEVELOPMENT OF PRE-SERVICE TEACHERS' ASSESSMENT LITERACY A BLENDED TRAINING MODELen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะศึกษาศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
58030290.pdf7.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.