Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1529
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | PATHOMPONG PUKNARK | en |
dc.contributor | ปฐมพงศ์ พุกนาค | th |
dc.contributor.advisor | Supannee Buasook | en |
dc.contributor.advisor | สุพรรณี บัวสุข | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Business,Economics and Communications | en |
dc.date.accessioned | 2020-10-27T07:39:59Z | - |
dc.date.available | 2020-10-27T07:39:59Z | - |
dc.date.issued | 2562 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1529 | - |
dc.description | Master of Business Administration (M.B.A.) | en |
dc.description | บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.) | th |
dc.description.abstract | This study is to compare the returns and risks of the Retirement Mutual Fund (RMF) in Thailand from the registered fund 5 years up by using Secondary Data method. Selecting the historical data for 5 years (year 2013 -2017) to calculate the rate of returns, risks, and evaluate the performance of each fund by using indicators of mutual fund return (AVGMR) and risk-adjusted mutual funds or the Sharpe’s ratio. The result showed that In the case that the return of the mutual fund is used as a variable, the behavior of the variable according to (Fund average monthly return) is 56.2% (Adjusted R Square = 0.562) and independent variable that has a significant influence to the average monthly return of the mutual fund are the risk of the fund (Risk) and the status of the mutual fund management company (Status) in a relationship in the same direction with the average monthly return of the mutual fund (AVGMR) with a statistical significance of 0.001 while the average monthly return of the Stock Exchange of Thailand (SETTR) and size of the mutual fund (LogTA) in relationship in the opposite direction with the average monthly return of the mutual fund (AVGMR) with a statistical significance of 0.001 and found that cost of fund administration (Expense ratio), fixed income fund (Fixed income), equity fund (Equity) and Balanced fund are not significant relationship with average monthly return of the mutual fund (AVGMR). In the case that the performance of the risk fund is adjusted or the Sharpe’s ratio is a variable can explain the behavior of the variable that the performance of the risk fund is adjusted or the Sharpe’s ratio gets 41.3% (Adjusted R Square = 0.413). There are independent variables that have an effect on the performance indicators of the mutual fund that has adjusted the risk level or the Sharpe's ratio with statistically significant are risk of fund (Risk) and size of mutual fund (LogTA ) in relationship in the same direction with fund performance indicators that have adjusted risk levels or the Sharpe’s ratio with statistically significant 0.001 while the average monthly return of the Stock Exchange of Thailand (SETTR), the status of the mutual fund management company (Status), the fixed income fund (Fixed income), the equity fund (Equity) and the Balanced Fund (Balanced) in relationship in the opposite direction with the performance indicators of risk-adjusted mutual funds or the Sharpe’s ratio with a statistic significance of 0.001 and found that the mutual fund administration expense (Expense ratio) is not significant relationship with the performance indicators of risk-adjusted mutual funds or the Sharpe’s ratio. | en |
dc.description.abstract | การศึกษาครั้งนี้เพื่อเปรียบเทียบผลตอบแทนและความเสี่ยงของกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) ที่จดทะเบียนในประเทศไทย โดยจะศึกษาข้อมูลของกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ โดยเลือกจากอายุกองทุนที่จดทะเบียนตั้งแต่ 5 ปี ขึ้นไป ใช้วิธีเก็บข้อมูลแบบทุติยภูมิ (Secondary Data) โดยใช้ข้อมูลย้อนหลัง 5 ปี (ปี 2556 -2560) มาคำนวณหาอัตราผลตอบแทน ความเสี่ยง และประเมินผลการดำเนินการของแต่ละกองทุน โดยใช้ตัวขี้วัด 2 ตัว คือ ผลตอบแทนกองทุนรวม (AVGMR) กับ ผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio ผลการวิจัยพบว่า กรณีใช้ผลตอบแทนของกองทุนรวมเป็นตัวแปรตามสามารถอธิบายพฤติกรรมของตัวแปรตาม (ผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวม) ได้ 56.2% (Adjusted R Square =0.562) และพบว่าตัวแปรอิสระที่ มีอิทธิพลต่อผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนี้ ความเสี่ยงของกองทุนรวม (Risk) และสถานภาพของบริษัทจัดการกองทุนรวม (Status) มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันกับผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวม (AVGMR) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 ในขณะที่ ผลตอบแทนรวมเฉลี่ยรายเดือนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SETTR) และขนาดของกองทุนรวม (LogTA) มีความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงกันข้ามกับผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวม (AVGMR) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 ส่วนอัตราค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนรวม (Expense ratio) กองทุนรวมประเภทตราสารหนี้ (Fixed income) กองทุนรวมประเภทตราสารทุน (Equity) และกองทุนรวมประเภทผสม (Balanced) ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวม (AVGMR) กรณีใช้ตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio เป็นตัวแปรตาม สามารถอธิบายพฤติกรรมของตัวแปรตาม คือตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio ได้ 41.3% (Adjusted R Square=0.413) และมีตัวแปรอิสระที่มีอิทธิพลต่อตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ดังนี้ ค่าความเสี่ยงของกองทุนรวม (Risk) และขนาดของกองทุนรวม (LogTA) มีความสัมพันธ์ ในทิศทางเดียวกันกับตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 ในขณะที่ ผลตอบแทนรวมเฉลี่ยรายเดือนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SETTR) สถานภาพของบริษัทจัดการกองทุนรวม (Status) กองทุนรวมประเภทตราสารหนี้ (Fixed income) กองทุนรวมประเภทตราสารทุน (Equity) และกองทุนรวมประเภทผสม (Balanced) มีความสัมพันธ์ ในทิศทางตรงกันข้ามกับตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ 0.001 ส่วน อัตราค่าใช้จ่ายในการบริหารกองทุนรวม (Expense ratio) ไม่พบว่ามีความสัมพันธ์อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติกับตัวชี้วัดผลการดำเนินงานของกองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว หรือค่า Sharpe’s ratio | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ผลตอบแทนเฉลี่ยรายเดือนของกองทุนรวม | th |
dc.subject | กองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ | th |
dc.subject | กองทุนรวมที่ปรับระดับความเสี่ยงแล้ว | th |
dc.subject | ผลตอบแทนรวมเฉลี่ยรายเดือนของตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย | th |
dc.subject | AVGMR | en |
dc.subject | RMF | en |
dc.subject | Sharpe's ratio | en |
dc.subject | SETTR | en |
dc.subject | Expense ratio | en |
dc.subject.classification | Economics | en |
dc.title | ปัจจัยที่มีผลต่อผลการดำเนินงานกองทุนรวมเพื่อการเลี้ยงชีพ (RMF) | en |
dc.title | Factors Affecting Performance of Retirement Mutual Funds (RMF) | th |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60061537.pdf | 1.73 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.