Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5933
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSuttiwan Aramreungen
dc.contributorสุทธิวรรณ อร่ามเรืองth
dc.contributor.advisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.advisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:28:40Z-
dc.date.available2024-01-30T02:28:40Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5933-
dc.description.abstractThis research is a quasi-experimental research. A single group was measured before and after the experiment. The objective of this study was to study The effectiveness of the adaptive Theory of Planned Behavior to prevent the adolescent pregnancy in secondary school students, Muang district, Kamphaengphet Province. The sample consisted of 60 participants, who spent 12 weeks in the program. Data were analyzed using frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and Paired Sample t-test and Independent Sample t-test. The results showed that before the program The experimental group and the control group had mean attitude towards Preventing Premature Sexual Intercourse Belief in the expectations of the reference group on prevention of sexual intercourse Compliance in the practice of preventing sexual intercourse Self-efficacy in preventing premature sex Intention to Prevent Premature Sexual Intercourse and behaviors to prevent premature sex no different But after the program It was found that the experimental group had a mean attitude towards preventing premature sex. Beliefs in the reference group's expectations of sex protection Compliance in the practice of preventing sexual intercourse Self-efficacy in preventing premature sex Intention to Prevent Premature Sexual Intercourse and behaviors to prevent premature sex higher than the pre-programmed and higher than the control group. The results of this research The developed program can be used as a guideline to change the behavior of preventing premature sex among secondary school students in Muang Kamphaeng Phet District to cover more target groups. including applications in the target group and other areas as appropriateen
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง ชนิดสองกลุ่มวัดก่อนและหลังการทดลอง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนในการจัดโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างจำนวน 60 คน  แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง, กลุ่มควบคุม กลุ่มละ 30 คน ใช้การสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม ใช้เวลาดำเนินโปรแกรม 6 สัปดาห์ เก็บข้อมูลก่อนการทดลอง และหลังการทดลอง 6 สัปดาห์ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ Paired Sample t-test และ Independent Sample t-test ผลการวิจัยพบว่า ก่อนจัดโปรแกรม กลุ่มทดลองกับกลุ่มควบคุมมีค่าเฉลี่ยเจตคติต่อการมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ความเชื่อในความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิง การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถตนเองในการปฏิบัติ ความตั้งใจในการปฏิบัติ และพฤติกรรมการป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ ไม่แตกต่างกัน แต่ภายหลังจัดโปรแกรม พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยเจตคติต่อ การมีเพศสัมพันธ์ในวัยรุ่น ความเชื่อในความคาดหวังของกลุ่มอ้างอิง การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง การรับรู้ความสามารถตนเองในการปฏิบัติ ความตั้งใจในการปฏิบัติ และพฤติกรรมการป้องกัน การมีเพศสัมพันธ์ สูงกว่าก่อนจัดโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการวิจัยครั้งนี้ สามารถนำโปรแกรมที่พัฒนาขึ้นไปใช้เป็นแนวทางในการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาในอำเภอเมืองกำแพงเพชร ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายยิ่งขึ้น รวมทั้งการประยุกต์ใช้ในกลุ่มเป้าหมายและพื้นที่อื่น ๆ ตามความเหมาะสมต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectทฤษฎีพฤติกรรมตามแผนth
dc.subjectพฤติกรรมป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรth
dc.subjectTheory of planned behavioren
dc.subjectPrevent the adolescent pregnancyen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleประสิทธิผลของการประยุกต์ใช้ทฤษฏีพฤติกรรมตามแผนในการจัดโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันการมีเพศสัมพันธ์ก่อนวัยอันควรในนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาชั้นปีที่ 2 อำเภอเมือง จังหวัดกำแพงเพชรth
dc.titleTHE EFFECTIVENESS OF APPLYING THEORY OF PLANNED BEHAVIOR TO PREVENT PREMARITAL SEXUAL BEHAVIOR AMONG JUNOIR SECONDARY SCHOOL STUDENTS, MEUNG DISTRICT, KHAMPHAENGPHET PROVINCEen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.coadvisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.emailadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SuttiwanAramreung.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.