Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5917
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKetsanee Prommeeneten
dc.contributorเกษณี พรหมมีเนตรth
dc.contributor.advisorAnirut Asawasakulsornen
dc.contributor.advisorอนิรุทธิ์ อัศวสกุลศรth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-12-06T08:44:22Z-
dc.date.available2023-12-06T08:44:22Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5917-
dc.description.abstractThe objectives of this research were (1) to study the needs of grocery store websites,  (2) to develop grocery store websites, and (3) to assess the satisfaction of using grocery store websites. The research was conducted by collecting data from qualitative research by interviewing and quantitative by using satisfaction questionnaires. Data analysis is inductive. Determination of content validity (IOC) and statistical analysis of data including mean and standard deviation. The results of the research revealed that (1) interviewing customer needs can be summarized in 3 issues as follows. The need for a website format that is easy to access, easy to use, attractive to buy, with complete store and product details. Secondly, the demand for website services Customers want to be able to pay through the website. And can order a variety of products, complete, like traveling to buy products at the store. The third side needs convenience in accessing the website. There are not many steps, you can order right away. The results of the expert evaluation consisted of 3 aspects. It was found that the needs of the users of the website, the functionality and the ease of using the website. From the performance evaluation, the IOC value is in the range of 0.5 -1.00 which is a valid value. (3) The results of customer satisfaction assessment in using the website in general were at a high level (x̄ = 3.98) when considering each aspect. With the highest average, it was found that the needs of people who accessed the website had the highest average (x̄ = 4.06) followed by functionality (x̄ = 4.05) and ease of use of the website (x̄ =3.83) respectively.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาความต้องการของเว็บไซต์ร้านค้าโชห่วย (2) เพื่อพัฒนาเว็บไซต์ร้านค้าโชห่วย และ (3) เพื่อประเมินความพึงพอใจการใช้งานเว็บไซต์ร้านค้าโชห่วย ดําเนินการวิจัยโดยเก็บข้อมูลจากการวิจัยเชิงคุณภาพโดยการสัมภาษณ์และเชิงปริมาณโดยใช้แบบสอบถามประเมินความพึงพอใจ การวิเคราะห์ข้อมูลเป็นแบบอุปนัย  การหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC) และการวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติได้แก่ค่าเฉลี่ยและส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ผลการวิจัยพบว่า (1) การสัมภาษณ์ความต้องการของลูกค้าที่สรุปสามประเด็นดังนี้ประเด็นที่หนึ่ง ความต้องการการรูปแบบเว็บไซต์ที่เข้าถึงสะดวก ใช้งานง่าย มีรูปแบบที่น่าซื้อ มีรายละเอียดข้อมูลของร้านค้าและสินค้าที่ครบถ้วน ประเด็นที่สอง ความต้องการให้บริการเว็บไซต์ลูกค้าต้องให้มีบริการสามารถชำระเงินผ่านเว็บไซต์ได้ และสั่งซื้อสินค้าได้หลากหลายครบถ้วนเหมือนเดินทางมาซื้อสินค้าที่ร้าน ประเด็นที่สาม ความต้องการเข้าถึงเว็บไซต์ที่ง่ายไม่หลายขั้นตอนสามารถสั่งซื้อสินค้าได้ทันที (2) ผลการประเมินผู้เชี่ยวชาญมีทั้งหมด 3 ด้าน พบว่า ด้านความต้องการของผู้ที่เข้าใช้เว็บไซต์ ด้านการทำงานของฟังก์ชัน และด้านความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์จากการประเมินประสิทธิภาพค่า IOC อยู่ในช่วง 0.5 –1.00 ซึ่งเป็นค่าที่สามารถนำไปใช้ได้ (3) ผลการประเมินความพึงพอใจของลูกค้าในการเข้าใช้งานเว็บไซต์โดยภาพรวมอยู่ในระดับมาก (x̄ = 3.98)  เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน ที่มีค่าเฉลี่ยสูงสุด พบว่า ด้านความต้องการของผู้ที่เข้าใช้เว็บไซต์ มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (x̄ = 4.06) รองลงมาคือ ด้านการทำงานของฟังก์ชัน (x̄ = 4.05) และ ความง่ายต่อการใช้งานเว็บไซต์ (x̄ = 3.83) ตามลำดับth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectเว็บไซต์th
dc.subjectร้านค้าโชห่วยth
dc.subjectการสัมภาษณ์th
dc.subjectการหาค่าความเที่ยงตรงเชิงเนื้อหา (IOC)th
dc.subjectค่าความเบี่ยงเบนมาตรฐานth
dc.subjectWebsiteen
dc.subjectGrocery storesien
dc.subjectInterviewen
dc.subjectIndex of item objective congruence (IOC)en
dc.subjectStandard Deviationen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationAdministrative and support service activitiesen
dc.subject.classificationManagement and administrationen
dc.titleการพัฒนาเว็บไซต์ร้านค้าโชห่วย กรณีศึกษาร้านค้าเพื่อนบ้านมินิมาร์ท จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleGrocery Website Development case study puean baan minimarket Phitsanuloken
dc.typeIndependent Studyen
dc.typeการค้นคว้าอิสระth
dc.contributor.coadvisorAnirut Asawasakulsornen
dc.contributor.coadvisorอนิรุทธิ์ อัศวสกุลศรth
dc.contributor.emailadvisoraniruta@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisoraniruta@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Science (M.S.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KetsaneePrommeenet.pdf1.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.