Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5869
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorKittipon Yookongen
dc.contributorกิตติพล อยู่คงth
dc.contributor.advisorNithra Kitreerawutiwongen
dc.contributor.advisorนิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:08:06Z-
dc.date.available2023-10-31T04:08:06Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5869-
dc.description.abstractA quasi-experimental two groups pretest-posttest design aimed to examine the effectiveness of telehealth self-management support program on self-management behavior and blood pressure among essential hypertension patients. The sample consisted of 70 patients who received services at the non-communicable disease clinic in Sawankhalok District, Sukhothai Province. These patients were sampled by purposive sampling based on the inclusion criteria. The sample were divided into 2 groups, 35 patients were assigned to the experimental group and received telehealth self-management support program, which was developed based on the concept of self-management by Creer for 12 weeks. For the comparison group consisting of 35 patients received the routine care. Data were collected by using the hypertension self-management questionnaire and non-invasive mechanical sphygmomanometers: digital display before and after experiments. Data were analyzed by descriptive statistics, Chi-square test, Fisher’s exact test, independent t-test, and paired sample t-test. The study revealed that after the intervention, the experimental group had mean scores of self-management behavior significantly higher than before intervention group and higher than the comparison group (p<.005). In addition, the mean score of blood pressure after the intervention, it was found that, the experimental group had mean score of systolic and diastolic blood pressure significantly lower than before received intervention and lower than the comparison group (p<.005). The results suggested that telehealth self-management support program was effectiveness for improving self-management behavior and blood pressure control among essential hypertension patients.en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลอง แบบสองกลุ่มวัดก่อนหลัง มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองร่วมกับการแพทย์ทางไกลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุ ที่มารับบริการที่คลินิกโรคเรื้อรัง โรงพยาบาลสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัย จำนวน 70 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจง ตามเกณฑ์คัดเข้า แบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลองจำนวน 35 คน เข้าร่วมโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองร่วมกับการแพทย์ทางไกล ซึ่งประยุกต์แนวคิดการจัดการตนเองของเคลียร์ เป็นระยะเวลา 12 สัปดาห์ ส่วนกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 35 คน ได้รับการดูแลตามปกติ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเองโรคความดันโลหิตสูง และเครื่องวัดระดับความดันโลหิตแบบแสดงค่าความดันเป็นดิจิตอลทั้งก่อนและหลังการทดลอง วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ไคสแคว์ ฟิชเชอร์และทดสอบทีที่เป็นอิสระกับกลุ่มที่สัมพันธ์กัน ผลการวิจัยพบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลอง มีค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการตนเองสูงกว่าก่อนการทดลองและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.005) ในส่วนของระดับความดันโลหิตหลังการทดลอง พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยระดับความดันโลหิตซิสโตลิกและไดแอสโตลิก ต่ำกว่าก่อนการทดลองและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<.005) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองร่วมกับการแพทย์ทางไกล มีประสิทธิผลในการพัฒนาพฤติกรรมการจัดการตนเองและการควบคุมระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงชนิดไม่ทราบสาเหตุth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectการจัดการตนเองth
dc.subjectการแพทย์ทางไกลth
dc.subjecthypertension Patientsen
dc.subjectself-managementen
dc.subjecttelehealthen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleประสิทธิผลของโปรแกรมการสนับสนุนการจัดการตนเองร่วมกับการแพทย์ทางไกลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองและระดับความดันโลหิตในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ชนิดไม่ทราบสาเหตุ อำเภอสวรรคโลก จังหวัดสุโขทัยth
dc.titleEffectiveness of Telehealth Self-management Support Program on Self-management Behavior and Blood Pressure among Essential Hypertension Patients in Sawankhalok District, Sukhothai Province.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorNithra Kitreerawutiwongen
dc.contributor.coadvisorนิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์th
dc.contributor.emailadvisornithrak@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisornithrak@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
KittiponYookong.pdf4.45 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.