Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5868
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPeerawat Yangjunen
dc.contributorพีระวัฒน์ แย้งจันทร์th
dc.contributor.advisorSupaporn Sudnongbuaen
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ สุดหนองบัวth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:08:06Z-
dc.date.available2023-10-31T04:08:06Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5868-
dc.description.abstractThis predictive research aimed to study factors influencing loneliness among Karen elderly people with Diabetes and Hypertension Disease in Tha Song Yang District, Tak province. Four hundread and sixty five samples were 60 years old and over, and lived along border between Thailand and Myanmar. They were selected randomly by systematic sampling.  Data collection took place from October to November 2022. The tools used for data collection were self-esteem, health services, social support and loneliness. A questionnaire compounded with those tools and it was found 0.860 of alpha Cronbach coefficient. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple linear regression statistics. The results illustrated that 71.2% of those Karen elders who suffered from diabetes and hypertensive disease was in the moderate level (x̅ = 2.80, S.D. = 0.37). Furthermore, there were six factors influencing loneliness among Karen elderly people with Diabetes and Hypertension Disease. They were service facilities (β = -0.247, p < 0.001), charge for service (β = -0.111, p = 0.006), service resources (β = 0.107, p < 0.013), stuff support (β = 0.181, p = 0.001), emotional support (β = 0.187, p < 0.001), and self-esteem    (β = 0.437, p < 0.001) respectively and 45.8% of these factors were utilized to predict  (R2= 0.465, Adjusted R2 = 0.458). Therefore, health care providers, government sectors and family members should be concerned about elderly’s self-esteem as well as support for mental health services in order to enhance their mental health and adjust themselves towards their chronic diseases appropriately in the long run.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ้างว้างในผู้สูงอายุกะเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก ที่มีอายุ 60 ปีขึ้นไป เป็นชาวไทยภูเขา กะเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ จำนวน 465 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนตุลาคมถึงเดือนพฤศจิกายน 2564 เครื่องมือเป็นแบบสอบถามการรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง การเข้าถึงบริการสุขภาพ 5 มิติ แรงสนับสนุนทางสังคม และความอ้างว้างในผู้สูงอายุ ซึ่งมีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคทั้งฉบับ เท่ากับ 0.860 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า ความอ้างว้างในผู้สูงอายุกะเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 71.2 ( x̅ = 2.80, S.D. = 0.37) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ้างว้างในผู้สูงอายุกะเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ ความสะดวกและสิ่งอำนวยความสะดวกของแหล่งบริการ (β = -0.247, p < 0.001) ความสามารถในการที่จะเสียค่าใช้จ่ายสำหรับบริการ (β = -0.111, p = 0.006) การเข้าถึงแหล่งบริการได้สะดวก (β = 0.107, p < 0.013) การสนับสนุนด้านสิ่งของ (β = 0.181, p = 0.001) การสนับสนุนด้านอารมณ์ (β = 0.187, p < 0.001)การรู้สึกมีคุณค่าในตนเอง (β = 0.437, p < 0.001) ตัวแปรเหล่านี้สามารถร่วมกันทำนายความอ้างว้างในผู้สูงอายุกะเหรี่ยงเผ่าปกาเกอะญอ ที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตาก  ได้ร้อยละ 45.8 (R2= 0.465, Adjusted R2 = 0.458) ดังนั้น เจ้าหน้าที่สาธารณสุข  หน่วยงานของรัฐ และสถาบันครอบครัว ควรให้ความสำคัญกับความรู้สึกมีคุณค่าในตนเองของผู้สูงอายุ และสนับสนุนให้ผู้สูงอายุเข้าถึงบริการสุขภาพจิต เพื่อให้ผู้สูงอายุเหล่านี้มีสุขภาพจิตที่ดีและปรับตัวต่อภาวะโรคเรื้อรังได้อย่างเหมาะสมต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความอ้างว้างth
dc.subjectกะเหรี่ยงth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectLonelinessen
dc.subjectKarenen
dc.subjectElderly peopleen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความอ้างว้างในผู้สูงอายุกะเหรี่ยงเผ่า ปกาเกอะญอที่ป่วยเป็นโรคเบาหวานและโรคความดันโลหิตสูง อำเภอท่าสองยาง จังหวัดตากth
dc.titleFactors influencing loneliness among Karen elderly people with Diabetes and Hypertension Disease in Tha Song Yang District, Tak provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSupaporn Sudnongbuaen
dc.contributor.coadvisorสุภาภรณ์ สุดหนองบัวth
dc.contributor.emailadvisorsupapornsud@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsupapornsud@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PeerawatYangjun.pdf1.96 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.