Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5861
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorOrathai Panpetchen
dc.contributorอรทัย ปานเพชรth
dc.contributor.advisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.advisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:08:05Z-
dc.date.available2023-10-31T04:08:05Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5861-
dc.description.abstractThis multi-stage mixed-method research aimed to develop a preventing unplanned pregnancy model for high school female students. The research is divided into three stages: 1) studying the causes and factors that influence the behavior of preventing unplanned pregnancies among high school girls, 2) developing a model for preventing unplanned pregnancies among high school girls, and 3) evaluating the effectiveness of the model for preventing unplanned pregnancies among high school girls. The research found that the preventing unplanned pregnancies model among high school girls consists of five components: 1) the student, 2) the teacher or school, 3) the parents of the student, 4) healthcare personnel or public health agencies, and 5) support from lover/boyfriends/friends/older siblings, which those components meet the criteria of suitability, usefulness, feasibility, and accuracy at the highest level. When the unprepared pregnancy prevention model for female high school students was trialed, it was found that the experimental group had a higher average score of preventing unplanned pregnancy among female high school students than before the activity was organized and higher than the control group, with statistical significance at the level of 0.05. Moreover, It was found that after implementing the experimental group's pregnancy prevention program, the proportion of pregnancy prevention  was higher than before the activity and higher than in the control group, with statistical significance at the 0.05 level. This study suggested that the develop a preventing unplanned pregnancy model for high school female students was effective. Therefore, the program should be expanded to cover more target groups and be applied in other suitable areas.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงผสมผสานแบบการประเมินผลหลายขั้นตอนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อสร้างรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย  แบ่งระยะการวิจัย ออกเป็น 3 ระยะ ตามกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) ศึกษาสาเหตุของพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 2) การสร้างรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบ คือ 1) ด้านตัวนักเรียน  2) ด้านครูหรือสถานศึกษา 3) ด้านผู้ปกครองนักเรียน  4) ด้านบุคลากรด้านสุขภาพหรือหน่วยงานสาธารณสุข และ 5) ด้านแรงสนับสนุนจากคนรัก/แฟน/เพื่อน/พี่ที่รู้จัก ซึ่งมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้ตามเกณฑ์ด้านความเหมาะสม  ความเป็นประโยชน์  ความเป็นไปได้ และความถูกต้องครอบคลุมอยู่ในระดับมากที่สุด  เมื่อนำรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายไปทดลองใช้ พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยผลการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายสูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม และ สูงกว่ากลุ่มควบคุม  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และ เปรียบเทียบค่าสัดส่วนการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย พบว่า หลังจัดกิจกรรมกลุ่มทดลองมีสัดส่วนการป้องกันการตั้งครรภ์สูงกว่าก่อนจัดกิจกรรม และ   สูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงว่ารูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิผลต่อการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลาย                จึงควรนำรูปแบบไปใช้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายและกลุ่มเป้าหมายอื่นมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ตามความเหมาะสมต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการตั้งครรภ์th
dc.subjectการตั้งครรภ์ไม่พร้อมth
dc.subjectนักเรียนหญิงth
dc.subjectนักเรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.subjectPreventionen
dc.subjectUnplanned pregnancyen
dc.subjectFemale studentsen
dc.subjectHigh schoolen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleรูปแบบการป้องกันการตั้งครรภ์ไม่พร้อมของนักเรียนหญิงระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนปลายth
dc.titleModel of Unwanted Pregnancy Prevention Among High School Female Studentsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.coadvisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.emailadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
OrathaiPanpetch.pdf3.64 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.