Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5737
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPreechapon Boonsongen
dc.contributorปรีชาพล บุญส่งth
dc.contributor.advisorSutanit Puttapanomen
dc.contributor.advisorสุธนิตย์ พุทธพนมth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-09-25T02:21:51Z-
dc.date.available2023-09-25T02:21:51Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5737-
dc.description.abstractThe purpose of this research was to evaluate the suitability between office worker anthropometry and furniture and to ergonomically design furniture that is more suitable. The anthropometric data was collected from 857 people aged between 18 - 59 years old.  The machine learning techniques; K-Mean, Fuzzy C-Mean and Hierarchical Clustering are used to size furniture. In most offices, the 42cm. seat height chair and 75 cm height desk are used.  The match between the sample anthropometry and the furniture size is 6% or 52 out of 857 people.  However, after defining two or three sizes of furniture sets, the percents of match increase dramatically; the two-size and three-size using k-means are 89.38% and 96.03%, respectively, and the two-size and three-size using Fuzzy C-Means are 91.48% and 95.80%, respectively. The hierarchical clustering method was tested and the results show that as the number of size increases, the suitability also increases. The best recommended result is two-size furniture sets from Fuzzy C-Means where the small chair is 40cm, the small desk is 64cm, and the large chair is 43cm, the large desk is 71 cmen
dc.description.abstractการศึกษาวิจัยในครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินความเหมาะสมระหว่างสัดส่วนร่างกายและขนาดของเฟอร์นิเจอร์และออกแบบแบบเฟอร์นิเจอร์ที่ใช้ในสำนักงานที่มีความเหมาะสมกับขนาดร่างกายตามหลักการทางด้านการยศาสตร์ โดยทำการวัดขนาดสัดส่วนร่างกายต่างๆของกลุ่มวัยทำงาน อายุระหว่าง 18 - 59 ปี จำนวน 857 คน และศึกษาความเหมาะสมระหว่างขนาดร่างกายกับขนาดของชุดโต๊ะเก้าอี้โดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ของเครื่อง แบบ K-Mean แบบ Fuzzy C-Mean และแบบ Hierarchical Clustering การตรวจสอบความเหมาะสมของเก้าอี้พื้นที่นั่งสูง 42 ซม.และโต๊ะสูง 75 ซม. ซึ่งขนาดมาตรฐานที่ใช้กันแพร่หลายในสำนักงาน พบว่ามีความเหมาะสมเพียง 6% หรือ 52 จาก 857 คน  การเพิ่มชุดขนาดของโต๊ะและเก้าอี้ช่วยเพิ่มความเหมาะสมได้มากขึ้นดังนี้ การจัดกลุ่มแบบ k-Means ทั้งแบบ 2 ชุดขนาดและ 3 ชุดขนาดให้ความเหมาะสมที่ 89.38% และ 96.03% ตามลำดับ และ การจัดกลุ่มแบบ Fuzzy C-Means ทั้งแบบ 2 ชุดขนาดและ 3 ชุดขนาดให้ความเหมาะสมที่ 91.48% และ 95.80% ตามลำดับ การจัดกลุ่มแบบไม่ระบุจำนวนกลุ่มด้วยวิธีการแบบ Hierarchical Clustering  เพื่อทดสอบการไม่ระบุจำนวนกลุ่ม เมื่อการจำนวนชุดขนาดมากขึ้นความเหมาะสมก็เพิ่มมากขึ้น และเมื่อทดสอบใช้เก้าอี้ที่สามารถปรับระดับได้กับชุดขนาดโต๊ะโดยวิธี Fuzzy c-Means แบบ 2 ขนาด จะสามารถทำให้ได้ความเหมาะสมได้เป็น 100% ซึ่งชุดขนาดโต๊ะ/เก้าอี้ขนาดเล็กมีขนาด เก้าอี้สูง 40 ซม. โต๊ะสูง 64 ซม.  และ ขนาดใหญ่มีขนาด เก้าอี้สูง 43 ซม. โต๊ะสูง 71 ซม.th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการยศาสตร์สำนักงานth
dc.subjectเฟอร์นิเจอร์สำนักงานth
dc.subjectชุดขนาดเฟอร์นิเจอร์th
dc.subjectการจัดกลุ่มth
dc.subjectการเรียนรู้ของเครื่องth
dc.subjectการวัดขนาดสัดส่วนร่างกายth
dc.subjectOffice furniture ergonomicsen
dc.subjectFurniture size seten
dc.subjectChair and desken
dc.subjectClusteringen
dc.subjectMachine learningen
dc.subjectMismatchen
dc.subjectMisfiten
dc.subjectAnthropometryen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.subject.classificationManufacturingen
dc.subject.classificationMining and extractionen
dc.titleการจัดชุดขนาดเฟอร์นิเจอร์การยศาสตร์สำนักงานตามความสัมพันธ์ของสัดส่วนร่างกายโดยใช้เทคนิคการเรียนรู้ของเครื่องth
dc.titleErgonomic office furniture sizing set arrangement based on anthropometrics using machine learning techniques en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorSutanit Puttapanomen
dc.contributor.coadvisorสุธนิตย์ พุทธพนมth
dc.contributor.emailadvisorsutanitp@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorsutanitp@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Industrial Engineering(IE)en
dc.description.degreedisciplineภาควิชาวิศวกรรมอุตสาหการth
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
PreechaponBoonsong.pdf2.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.