Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5268
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorHONGSAKUL MESNUKULen
dc.contributorหงสกุล เมสนุกูลth
dc.contributor.advisorKetwadee Buddhabhumbhitaken
dc.contributor.advisorเกษวดี พุทธภูมิพิทักษ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-04-18T02:53:15Z-
dc.date.available2023-04-18T02:53:15Z-
dc.date.created2564en_US
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5268-
dc.description.abstractThis research was qualitative research. The concept of Retro movement, Retro concepts ,and Authenticity were used as research frameworks. The research area was in ​​Charoen Krung Road area. Each sample groups were 10 key informants: entrepreneurs in Charoen Krung area, residents in Charoen Krung area, hipster tourists, and experts in tourism using purposive sampling. Two types of research instruments were used: 1) screening form for hipster tourists and 2) semi-structured interview form. Analyze the data were content analysis and descriptive description.  The results show the influence of the Retro movement on the tourism supply and demand sectors that has transformed cultural heritage sites and evolved into Hip Heritage Tourism Destination. The influence of Retro movement phenomenon re-creates characteristics of authenticity in 8 aspects, which were new knowledge gained from this research. The authenticity of Hip Heritage Destination was analyzed to be the 3 Distinctivenesses of Hip Heritage tourism Destinations, namely Distinctiveness of Value Creation, Distinctiveness of Differentiation, and Distinctiveness as Utopia.  This distinctiveness were key elements used in shaping the three approaches to the development of Hip Heritage Tourism destinations: the promotion and creation of the physical element; Promotion and creation of tourism products and services and promoting and creating tourism activities, which was presented as a strategic plan for Hip Heritage Tourism Destinations development.en
dc.description.abstractงานวิจัยนี้เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ ใช้แนวคิดการเคลื่อนไหวแสวงหาอดีต แนวคิดย้อนอดีต และความเดิมแท้ เป็นกรอบการวิจัย พื้นที่วิจัยคือ แหล่งท่องเที่ยวและชุมชนในพื้นที่ย่านถนนเจริญกรุง กลุ่มตัวอย่างมีผู้ให้ข้อมูลจำนวนกลุ่มละ 10 คน คือ ผู้ประกอบการในย่านเจริญกรุง ผู้อยู่อาศัยในย่านเจริญกรุง นักท่องเที่ยวฮิปสเตอร์ และผู้เชี่ยวชาญทางด้านการท่องเที่ยว ใช้วิธีการคัดเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัยมี 2 ชนิด คือ 1) แบบคัดกรองกลุ่มตัวอย่างนักท่องเที่ยวฮิปสเตอร์ 2) แบบสัมภาษณ์แบบกึ่งโครงสร้าง วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้การวิเคราะห์เนื้อหาแล้วเขียนบรรยายเชิงพรรณนา  ผลการวิจัยแสดงให้เห็นถึงอิทธิพลของปรากฏการณ์เคลื่อนไหวแสวงหาอดีตที่ส่งผลต่อภาคอุปสงค์และอุปทานการท่องเที่ยวที่ทำให้แหล่งมรดกวัฒนธรรมมีการเปลี่ยนแปลงและพัฒนาสู่การเป็นจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวมรดกแบบฮิพ และทำให้เกิดลักษณะคุณค่าความเดิมแท้ลักษณะใหม่ จำนวน 8 ประเด็น ซึ่งเป็นองค์ความรู้ใหม่ที่ได้จากการวิจัยครั้งนี้ และนำมาวิเคราะห์เป็นความโดดเด่น ทั้งหมด 3 ด้าน ได้แก่ ความโดดเด่นด้านการต่อยอดคุณค่า ความโดดเด่นด้านความแตกต่าง และความโดดเด่นด้านการเป็นดินแดนในอุดมคติ เหล่านี้เป็นส่วนสำคัญที่นำไปใช้ในการกำหนดแนวทางการสร้างสรรค์จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวมรดกแบบฮิพ ได้แก่ การส่งเสริมและสร้างสรรค์องค์ประกอบทางกายภาพ การส่งเสริมและสร้างสรรค์สินค้าและบริการการท่องเที่ยว และการส่งเสริมและสร้างสรรค์กิจกรรมการท่องเที่ยว ซึ่งได้นำเสนอเป็นแผนกลยุทธ์การพัฒนาจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวมรดกแบบฮิพth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความเดิมแท้th
dc.subjectจุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวth
dc.subjectมรดกแบบฮิพth
dc.subjectย่านเจริญกรุงth
dc.subjectAuthenticityen
dc.subjectTourism Destinationen
dc.subjectHip Heritageen
dc.subjectCharoen Krung Districten
dc.subject.classificationBusinessen
dc.subject.classificationArts, entertainment and recreationen
dc.subject.classificationSociology and cultural studiesen
dc.titleความเดิมแท้ภายใต้ปรากฏการณ์เคลื่อนไหวแสวงหาอดีตสู่การสร้างสรรค์จุดหมายปลายทางการท่องเที่ยวมรดกแบบฮิพth
dc.titleAuthenticity in Context of Retro Movement Phenomenon towards The Development of Hip Heritage Tourism Destinationsen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKetwadee Buddhabhumbhitaken
dc.contributor.coadvisorเกษวดี พุทธภูมิพิทักษ์th
dc.contributor.emailadvisorketwadeebu@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorketwadeebu@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Philosophy (Ph.D.)en
dc.description.degreenameปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
dc.description.degreedisciplineDepartment of Tourismen
dc.description.degreedisciplineภาควิชาการท่องเที่ยวth
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
HongsakulMesnukul.pdf2.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.