Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5210
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWarapong Tatuyen
dc.contributorวราพงษ์ ทาตุ้ยth
dc.contributor.advisorJirarat Ruetrakulen
dc.contributor.advisorจิรรัตน์ หรือตระกูลth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Nursingen
dc.date.accessioned2023-03-20T02:18:24Z-
dc.date.available2023-03-20T02:18:24Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5210-
dc.descriptionMaster of Nursing Science (M.N.S.)en
dc.descriptionพยาบาลศาสตรมหาบัณฑิต (พย.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this correlational research were: 1) to explore the level of innovative leadership of professional nurse in the university hospital, the lower northern region, 2) to study the level of readiness of professional nurse in the university hospital, the lower northern region, 3) to examine the level of successful nursing administration in the university hospital, the lower northern region, 4) to investigate the relationships between the innovative leadership and the successful nursing administration in the university hospital, the lower northern region, and 5) to evaluate the relationships between readiness of professional nurses and the successful nursing administration in the university hospital, the lower north region. The participants consisted of 226 professional nurses providing services to patients in the university hospital, the lower north region and had working experiences in the unit at least one year. Questionnaires were used for data collection, consisted of four questionnaires: 1) demographic data, 2) the innovative leadership of professional nurses, 3) the readiness of professional nurses, and 4) the successful nursing administration. Questionnaires were tested for validity and reliability. The content validity of the questionnaires were 0.89, 0.93, 0.90 respectively. The Cronbach’s Alpha reliability coefficients of the questionnaires were 0.98, 0.95, 0.97 respectively. Data were analyzed by both descriptive statistics (percentage, mean, standard deviation) and Pearson’s product moment correlation. The research findings were as follows. 1) Professional nurses perceived the innovative leadership of the nurses at the high level. 2) Professional nurses perceived the readiness of the nurses at the high level. 3) Professional nurses perceived the successful nursing administration of the nurses at the high level. 4) The innovative leadership had a positively significant relationship with the successful nursing administration in the university hospital (p < 0.01). Finally, 5) The readiness of professional nurse had a positively significant relationship with the successful nursing administration in the university hospital (p < 0.01).en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงหาความสัมพันธ์ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษา 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง  2) ระดับความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง  3) ระดับของความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง 4) ความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพกับความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง และ 5) ความสัมพันธ์ระหว่างความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพกับความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง กลุ่มตัวอย่างเป็นพยาบาลวิชาชีพ ในสังกัดฝ่ายการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ที่มีประสบการณ์การทำงานไม่น้อยกว่า 1 ปี จำนวน 226 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วยข้อมูล 3 ส่วน คือ ข้อมูลส่วนบุคคล  ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพ ความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ และความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่าง ตรวจสอบความตรงของเนื้อหาของแบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล ได้ค่าเท่ากับ 0.89 0.93 และ 0.90 ตามลำดับ และตรวจสอบความเที่ยงของแบบสอบถามภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพ แบบสอบถามความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ และแบบสอบถามความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล ได้ค่าเท่ากับ 0.98 0.95 และ 0.97 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมสำเร็จรูปหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และ ค่าสัมประสิทธิ์สหสัมพันธ์ของเพียร์สัน ผลการวิจัยพบว่า 1) ระดับภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมของพยาบาลวิชาชีพ โดยรวมอยู่ในระดับสูง 2) ระดับความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ มีค่าคะแนนเฉลี่ยโดยรวมอยู่ในระดับสูง 3) ระดับความสำเร็จของการบริหารทางการพยาบาล โดยรวมอยู่ในระดับสูง 4) ภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมกับความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล มีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 และ 5) ความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพ กับความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล มีความสัมพันธ์กันในทิศทางบวกอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ที่ระดับ .01th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรมth
dc.subjectความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพth
dc.subjectความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาลth
dc.subjectThe Innovative Leadershipen
dc.subjectThe Readiness of Professional Nurseen
dc.subjectThe Successful Nursing Administrationen
dc.subject.classificationNursingen
dc.titleความสัมพันธ์ระหว่างภาวะผู้นำเชิงนวัตกรรม ความพร้อมของพยาบาลวิชาชีพกับความสำเร็จด้านการบริหารทางการพยาบาล โรงพยาบาลมหาวิทยาลัย ภาคเหนือตอนล่างen
dc.titleThe Relationship between Innovative Leadership, Readiness of Professional Nurses and Success in Nursing Administration of an University Hospital, the Lower Northern Regionth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะพยาบาลศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62061566.pdf4.22 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.