Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5178
Title: ปัจจัยทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยเจริญพันธุ์ ตำบลบ่อไทย จังหวัดเพชรบูรณ์
Factors Predicting Breast Self-Examination Behavior among Reproductive Age Women at Bo Thai Sub-district, Phetchabun Province
Authors: WUNPEN CHOITANONG
วรรณเพ็ญ ฉ่อยทะนงค์
Pattama Suphunnakul
ปัทมา สุพรรณกุล
Naresuan University. Faculty of Public Health
Keywords: พฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเอง
แรงสนับสนุนทางสังคม
Breast Self-Examination Behavior
Social support
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: The main objective of predictive research was to study the factors predicting the behavior of breast self-examination of mammograms among women of reproductive age, Bo Thai Sub-district, Phetchabun Province. Data were collected with 300 subjects and analyzed with descriptive statistics and inference statistics such as Multiple Regression Analysis (stepwise) for hypothesis testing at a significant level of 0.05. The results found that most women of reproductive age had knowledge about breast cancer, attitude towards self-examination, and subjective norm at a good level of 50.3, 75.7, and 68.0, respectively. Women of reproductive age perceived the ability to self-examine mammograms at a moderate level of 49.7 percent. In part of factors predicting breast self-examination behavior, found that Subjective norm was the strongest predictor of mammography self-examination behavior (Beta = 0.300, P-value < 0.001), support from the Village Health Volunteers (Beta = 0.239, P-value < 0.001), followed by support from public health worker (Beta = 0.222, P-value < 0.001). Perceived ability to self-examine mammograms (Beta = 0.177, P-value = 0.010) and friend support (Beta = 0.113, P-value = 0.024) with a significant level of 0.05. These factors can predict mammography self-examination behavior among women of reproductive age at 36.1 percent.
การวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาปัจจัยทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยเจริญพันธุ์ ตำบลบ่อไทย จังหวัดเพชรบูรณ์ กลุ่มตัวอย่าง คือ สตรีวัยเจริญพันธุ์ อายุ 20-49 ปี รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 300 คนวิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนาและสถิติถดถอยเชิงพหุคูณ (Multiple Regression Analysis) แบบขั้นตอน Stepwise กำหนดค่านัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า สตรีวัยเจริญพันธุ์ ส่วนใหญ่อายุเฉลี่ย 39 ปี มีความรู้เกี่ยวกับมะเร็งเต้านม มีทัศนคติต่อการตรวจเต้านมด้วยตนเอง และมีการคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง อยู่ในระดับดี ร้อยละ 68.0, 50.3, 75.7 ตามลำดับ  มีการรับรู้ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง อยู่ระดับปานกลาง ร้อยละ 49.7 ปัจจัยร่วมทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยเจริญพันธุ์ (20-49 ปี) ที่มีอำนาจการทำนายสูงสุด ได้แก่ การคล้อยตามกลุ่มอ้างอิง (Beta = 0.300, P-value < 0.001) รองลงมา ได้แก่ แรงสนับสนุนจาก อสม. (Beta = 0.239, P-value < 0.001) แรงสนับสนุนจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (Beta = 0.222, P-value < 0.001)  การรับรู้ความสามารถในการตรวจเต้านมด้วยตนเอง (Beta = 0.177, P-value = 0.010) และแรงสนับสนุนจากเพื่อน (Beta = 0.113, P-value = 0.024) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ซึ่งปัจจัยเหล่านี้สามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการตรวจเต้านมด้วยตนเองของสตรีวัยเจริญพันธุ์ ได้ร้อยละ 36.1 
Description: Master of Public Health (M.P.H.)
สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5178
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63062579.pdf1.38 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.