Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5175
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChirarat Emyaemen
dc.contributorจิรารัตน์ เอมแย้มth
dc.contributor.advisorWutthichai Jariyaen
dc.contributor.advisorวุฒิชัย จริยาth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:42Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:42Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5175-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to evaluate the effects of dental health education program by applying self-efficacy theory and social support theory in behavioral modification for dental caries and gingivitis prevention among the four to six grade students in Mahaphot subdistrict, Kaoliao district, Nakhonsawan province. Multistage sampling was used to recruit 70 students from two schools, who were separated into two groups of 35 students each: an experimental group and a control group. The effects of dental health education program for dental caries and gingivitis prevention had been implemented in the experimental group for 8 weeks. Data were collected by questionnaires. Statistics utilized for data analysis were descriptive statistics (frequency distributions, percentage, mean and standard deviation) and inferential statistics (Chi-square test, Fisher's exact test, Mann-Whitney test, Independent t-test, and Paired t-test).   The results showed that the mean score of self - efficacy, outcome expectation, social support and health behaviors for dental caries and gingivitis prevention in the experimental group 41.66 45.49 31.86, and 48.00, respectively was more than before receiving the program and more than that in the control group (p-value<0.05).en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปี ที่ 4-6 ตำบลมหาโพธิ อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่าง คือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 จาก 2 โรงเรียน จำนวน 70 คน คัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน (Multistage Sampling) แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 35 คน กลุ่มควบคุม 35 คน ใช้ระยะเวลาในการดำเนินตามโปรแกรมทั้งหมด 8 สัปดาห์ โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงวิเคราะห์ ได้แก่ Chi-square test, Fisher's exact test, Mann-Whitney test, Independent t-test, และ Paired t-test       ผลการวิจัย พบว่า ค่าคะแนนเฉลี่ยการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการปฏิบัติตัวในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ แรงสนับสนุนทางสังคม พฤติกรรมในการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบ ในกลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษามีค่าคะแนนเฉลี่ย 41.66 45.49 31.86 และ 48.00 ตามลำดับ มากกว่าก่อนการได้รับโปรแกรมทันตสุขศึกษาและมากกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectโปรแกรมทันตสุขศึกษาth
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบth
dc.subjectการรับรู้ความสามารถของตนเองth
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมth
dc.subjectDental Health Education Programen
dc.subjectBehaviors for Dental Caries and Gingivitis Preventionen
dc.subjectSelf-efficacyen
dc.subjectSocial Supporten
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleผลของโปรแกรมทันตสุขศึกษาโดยประยุกต์ใช้ทฤษฎีการรับรู้ความสามารถของตนเองร่วมกับแรงสนับสนุนทางสังคมต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคฟันผุและโรคเหงือกอักเสบของนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 4-6 ตำบลมหาโพธิ อำเภอเก้าเลี้ยว จังหวัดนครสวรรค์th
dc.titleThe Effects of Dental Health Education Program by Applying Self-efficacy Theory and Social Support Theory in Behavioral Modification for Dental Caries and Gingivitis Prevention among the Four to Six Grade Students in Mahaphot Subdistrict, Kaoliao District, Nakhonsawan Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63061558.pdf1.84 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.