Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4081
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWARUNEE KAEWKINGCHANen
dc.contributorวารุณี แก้วกิ่งจันทร์th
dc.contributor.advisorKanokkarn snae Namahooten
dc.contributor.advisorกนกกาญจน์ เสน่ห์ นมะหุตth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Business,Economics and Communicationsen
dc.date.accessioned2021-11-18T01:38:27Z-
dc.date.available2021-11-18T01:38:27Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4081-
dc.descriptionMaster of Business Administration (M.B.A.)en
dc.descriptionบริหารธุรกิจมหาบัณฑิต (บธ.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this research is to analyze the factors of potential to use technology, technology acceptance and lifestyle towards the intention to use communicative innovation of the elderly, with an attitude of using communicative innovation as variable. The data were collected from a sample of 400 elderly, over 60 years of age who use the communicative innovation, in the lower northern regions such Phitsanulok, Tak, Phetchabun, Sukhothai and Uttaradit. The tool used in this research was a model of using communicative innovation of elderly people questionnaire. It was used an analysis of a structural equation model. The results indicated that potential to use technology, technology acceptance and lifestyle had the significantly direct influence on the intention to use communicative innovation of the elderly at the .001 level with a β value  of -0.153, 0.323 and 0.730, respectively and lifestyle had the significantly indirect influence on the intention to use communicative innovation of the elderly with significant at the .001 level with a β values ​​of 0.411 and 0.649, respectively of using innovative communication as the mediator variable. Attitude of using innovative communication had a direct influence on the intention to use communicative innovation among the elderly people significant at the .001 level with a β value of 0.998 and R2 value of 0.996. The result also found that the potential to use technology, technology acceptance and lifestyle attitude of using innovative communication had to predict the on the intention to use communicative innovation among the elderly people significantly at the 99%en
dc.description.abstractการวิจัยเรื่องนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยด้านศักยภาพในการใช้เทคโนโลยี การยอมรับเทคโนโลยีและรูปแบบการดำเนินชีวิต ที่มีต่อความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุ โดยมีทัศนคติในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารเป็นตัวแปรส่งผ่าน เก็บรวบรวมข้อมูลจากผู้สูงอายุที่มีอายุเกิน 60 ปีบริบูรณ์ ที่มีการใช้นวัตกรรมในการสื่อสารในเขตภาคเหนือตอนล่าง ได้แก่ จังหวัดพิษณุโลก จังหวัดตาก จังหวัดเพชรบูรณ์ จังหวัดสุโขทัย และจังหวัดอุตรดิตถ์ จำนวน 400 คน เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถามโมเดลการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุ งานวิจัยนี้ใช้การวิเคราะห์ด้วยแบบจำลองสมการเชิงโครงสร้าง ผลการวิเคราะห์พบว่า ศักยภาพในการใช้เทคโนโลยี การยอมรับเทคโนโลยีและรูปแบบการดำเนินชีวิตมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีค่า β เท่ากับ-0.153, 0.323 และ 0.730 ตามลำดับ ทั้งนี้การยอมรับเทคโนโลยีและรูปแบบการดำเนินชีวิตที่มีอิทธิพลทางอ้อมต่อความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุ โดยมีทัศนคติในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารเป็นตัวแปรส่งผ่านอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีค่า β เท่ากับ 0.411 และ 0.649 ตามลำดับ อีกทั้งยังพบว่า ทัศนคติในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารยังมีอิทธิพลทางตรงต่อความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .001 โดยมีค่า β เท่ากับ 0.998 และโดยมีค่า R2 เท่ากับ 0.996 ทั้งนี้แสดงให้เห็นว่าตัวแปรศักยภาพในการใช้เทคโนโลยี การยอมรับเทคโนโลยี รูปแบบการดำเนินชีวิตและทัศนคติในการใช้นวัตกรรมการสื่อสาร สามารถพยากรณ์ความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุได้ 99%th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectศักยภาพในการใช้เทคโนโลยีth
dc.subjectการยอมรับเทคโนโลยีth
dc.subjectรูปแบบการดำเนินชีวิตth
dc.subjectทัศนคติในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารth
dc.subjectความตั้งใจในการใช้นวัตกรรมการสื่อสารth
dc.subjectPotential to use technologyen
dc.subjectTechnology acceptanceen
dc.subjectLifestyleen
dc.subjectAttitude in using communicative innovationen
dc.subjectIntention to use communicative innovationen
dc.subject.classificationBusinessen
dc.titleโมเดลการใช้นวัตกรรมการสื่อสารของผู้สูงอายุth
dc.titleA MODEL OF BEHAVIORAL INTENTION TO USE COMMUNICATIVE INNOVATION OF THE ELDERLYen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะบริหารธุรกิจ เศรษฐศาสตร์และการสื่อสาร

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62062693.pdf8.46 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.