Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3949
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHANASAK PIAMSINen
dc.contributorธนาศักดิ์ เปี่ยมสินth
dc.contributor.advisorJutarat Rakprasiten
dc.contributor.advisorจุฑารัตน์ รักประสิทธิ์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-11-12T04:14:45Z-
dc.date.available2021-11-12T04:14:45Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3949-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to study the effect of a program applying protection motivation theory on pesticide prevention behaviors among cassava farmers, Painokyoong sub-district, Hankha district, Chainat province. The samples were divided into two groups, 30 participants into the experimental group and 30 participants into the control group, using a sample group purposive selection method. The experimental group participated in 10 weeks of program activities. Data were collected using a questionnaire. The statistics used to analyze the data were percentage, mean, and two-way repeated measure ANOVA. The results showed that after participating in the program, the mean scores of perceived intensity from pesticide use, perceived susceptibility from pesticide exposure, response efficacy in effectiveness of prevention from pesticide, perceived self efficacy of prevention from pesticide, and prevention behaviors from pesticide, the experimental group was higher than before the program and higher than the control group, were statistically significant (p-value < 0.01). The results indicated that program applying protection motivation theory on pesticide prevention behaviors can lead to behavior change among farmers.en
dc.description.abstractการวิจัยกึ่งทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ตำบลไพรนกยูง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท กลุ่มตัวอย่างที่ศึกษาถูกแบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลอง จำนวน 30 คน  และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 30 คน โดยใช้การคัดเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงตามเกณฑ์ที่กำหนด กลุ่มทดลองเข้าร่วมกิจกรรมตามโปรแกรมในระยะเวลา 10 สัปดาห์ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม สถิติที่ใช้วิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และการวิเคราะห์ความแปรปรวนสองทางแบบวัดซ้ำ ผลการวิจัย พบว่า หลังการเข้าร่วมโปรแกรม ค่าเฉลี่ยคะแนนการรับรู้ความรุนแรงจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การรับรู้โอกาสเสี่ยงจากการได้รับสารเคมีกำจัดศัตรูพืช ความคาดหวังในประสิทธิผลของการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช การรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช และพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืช ในกลุ่มทดลองสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรม และสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p-value < 0.01) ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชสามารถนำไปสู่การเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมในกลุ่มเกษตรกรth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลังth
dc.subjectทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคth
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชth
dc.subjectcassava farmersen
dc.subjectprotection motivation theoryen
dc.subjectpesticide prevention behaviorsen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleผลของโปรแกรมการประยุกต์ทฤษฎีแรงจูงใจในการป้องกันโรคต่อพฤติกรรมการป้องกันอันตรายจากการใช้สารเคมีกำจัดศัตรูพืชของเกษตรกรผู้ปลูกมันสำปะหลัง ตำบลไพรนกยูง อำเภอหันคา จังหวัดชัยนาท th
dc.titleEffect of a program applying protection motivation theory on pesticide prevention behaviors among cassava farmers in Painokyoong sub-district, Hankha district, Chainat province   en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60061223.pdf2.36 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.