Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2833
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSAISUNEE CHAREONSINen
dc.contributorสายสุนี เจริญศิลป์th
dc.contributor.advisorOrawan Keeratisirojen
dc.contributor.advisorอรวรรณ กีรติสิโรจน์th
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-07-22T03:47:18Z-
dc.date.available2021-07-22T03:47:18Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2833-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis predictive research aimed to study behaviors and factors influencing stroke prevention behaviors of hypertensive patients in Muang District, Nakhon Sawan Province. The sample consisted of 420 hypertensive patients who ages ranged 35 - 59 years who enrolled to health promotion hospital in Muang District. Data were collected between December 2020 and February 2021. The tools used for data collection were knowledge, perception, social support questionnaires and stroke prevention behaviors which KR-20 and Alpha Kronbach Coefficients were 0.76, 0.878, 0.916 and 0.850, respectively. Data were analyzed using frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple linear regression statistics. The results showed that stroke prevention behaviors were at a high level (x̅ = 4.09, S.D. = 0.12). The factors that predicted the stroke prevention behavior in hypertensive patients at statistically significant level 0.05 including the perceived benefit of stroke prevention behavior (β = 0.259, p < 0.001); warning from family (β = 0.184, p< 0.001); the perceived barriers (β = -0.179, p< 0.001); induction of stroke prevention behavior (β = 0.171, p < 0.001); perceived risk of stroke (β = 0.154, p = 0.001) and duration of illness (β = 0.151, p < 0.001).en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง  และปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูง ในอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อายุระหว่าง 35 - 59 ปี ที่มารับบริการที่โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพในเขตอำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 420 คน เก็บข้อมูลในช่วงเดือนธันวาคม 2563 ถึงเดือนกุมภาพันธ์ 2564 เครื่องมือเป็นแบบสอบถามความรู้ การรับรู้ แรงสนับสนุนทางสังคม และพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งมีค่า KR-20 และค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาค เท่ากับ 0.76, 0.878, 0.916 และ 0.850 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับมาก (x̅ = 4.09, S.D. = 0.12) ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ได้แก่ การรับรู้ประโยชน์ (β = 0.259, p< 0.001) การได้รับข้อมูลข่าวสารจากบุคคลในครอบครัว (β = 0.184, p< 0.001) การรับรู้อุปสรรค (β = -0.179, p< 0.001) สิ่งชักนำที่ก่อให้เกิดการปฏิบัติ (β = 0.171, p < 0.001) การรับรู้โอกาสเสี่ยง (β = 0.154,  p = 0.001) และระยะเวลาที่ป่วย (β = 0.151, p < 0.001)th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความดันเลือดสูงth
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองth
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectFactoren
dc.subjectStroke prevention behaviorsen
dc.subjecthypertensive patientsen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองในผู้ป่วยความดันโลหิตสูง อำเภอเมือง จังหวัดนครสวรรค์th
dc.titleFactors affectings stroke prevention behavior in hypertention patients, Mueang District, Nakhon Sawan Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62061641.pdf3.02 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.