Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2494
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNIPADA VORAPOen
dc.contributorนิภาดา วรโพธิ์th
dc.contributor.advisorChakkraphan Phetphumen
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ เพ็ชรภูมิth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-04-01T05:34:00Z-
dc.date.available2021-04-01T05:34:00Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2494-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this cross-sectional survey were to study the diabetic nephropathy preventive behaviors of diabetic patients and to study factors affecting the diabetic nephropathy preventive behaviors of diabetic patients in Thapthan District, Uthaithani Province. The sample was 355 Type 2 diabetes patients without diabetic nephropathy in Thapthan District, Uthaithani Province. The sample was selected based on a systematic sampling. Data were collected by using a structured questionnaire with validity and reliability. Data were analyzed by using stepwise multiple regression. The research results indicated that most of the sample had a good level of diabetic nephropathy preventive behavior (x̄ = 56.15, SD = 6.779). The results of analyzing stepwise multiple regression showed that there were seven factors affecting the diabetic nephropathy preventive behaviors, namely: family support (β = 0.247, p < 0.001), knowledge of diabetic nephropathy preventive behaviors (β = 0.193, p < 0.001), age (β = 0.167, p < 0.001), access to public health services (β = 0.158, p = 0.001), and perceived obstacles to prevent diabetic nephropathy (β = -0.259, p < 0.001), Five factors could explain 31.20 percent of the variation in diabetic nephropathy preventive behaviors with a statistically significant level of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยเชิงสำรวจภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานและศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวานในอำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี กลุ่มตัวอย่าง คือ ผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ที่ไม่มีภาวะแทรกซ้อนทางไตในอำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานี จำนวน 355 คน ที่ได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบมีระบบ เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามแบบมีโครงสร้าง มีค่าความตรง  ค่าความเชื่อมั่น  และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตอยู่ในระดับมาก   (x̄ = 56.15, SD = 6.779) และผลการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน พบว่า ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวาน มี 5 ตัวแปร การได้รับแรงสนับสนุนจากครอบครัว (β = 0.247, p < 0.001) ความรู้เรื่องพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไต (β = 0.193 p < 0.001) อายุ (β = 0.167, p < 0.001) การเข้าถึงแหล่งบริการและทรัพยากรในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไต (β = 0.158, p = 0.001) และการรับรู้อุปสรรคในการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไต (β = -0.259, p < 0.001) ทั้ง 5 ตัวแปรมีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไต คิดเป็นร้อยละ 31.20 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectภาวะแทรกซ้อนทางไตth
dc.subjectโรคเบาหวานth
dc.subjectพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตth
dc.subjectDiabetic Kidney diseaseen
dc.subjectDiabeticen
dc.subjectPreventive Behaviors in Preventing Diabetic Kidney Diseaseen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันภาวะแทรกซ้อนทางไตของผู้ป่วยเบาหวาน ในอำเภอทัพทัน จังหวัดอุทัยธานีth
dc.titleFactors Affecting Preventive Behaviors in Preventing  Diabetic Kidney Disease of Diabetic Patients in Thapthan District, Uthaitani Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061314.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.