Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1465
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHEERAPON SUKSAMRANen
dc.contributorธีรพล สุขสำราญth
dc.contributor.advisorPajaree Thongsaniten
dc.contributor.advisorปาจรีย์ ทองสนิทth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Engineeringen
dc.date.accessioned2020-10-12T08:37:01Z-
dc.date.available2020-10-12T08:37:01Z-
dc.date.issued2562en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1465-
dc.descriptionMaster of Engineering (M.Eng.)en
dc.descriptionวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วศ.ม.)th
dc.description.abstractResearch conducted from 2010 to 2017 by the Faculty of Engineering, Naresuan University revealed a dust problem. Accordingly, this latest research studied inhalation exposure and health effects of particulate matter with an aerodynamic diameter equal to a nominal 10 µm. (PM10). The PM10 samples were collected from the environments of volunteers using low volume air samplers with a flow rate of 1.7 L/min. The volunteers, from six occupational groups (lecturers, administrative staff, students, gardeners, security officers, and housemaids), were asked to carry the air samplers for 1 working day (8 hours). Fifty samples were collected from January 2019 to March 2019. The lowest level of the inhalation exposure was collected from the lecturers at 0.75x10-4 mg/kg/day, while the highest level was from the security officers at 2.1x10-4 mg/kg/day. When the data was divided into 3 groups (skilled workers, students and, unskilled workers), the skilled workers, with a Hazard Quotient (HQ) of 8.12x10-3 and the students, with a HQ of 7.86x10-3, were exposed to less PM10 less than the unskilled workers, while both the skilled workers and students had a coefficient of determination of 59.70%. This meant there was a very low effect on health. However, the results did not suggest a high risk for all of the six occupational groups.en
dc.description.abstractจากข้อมูลในงานวิจัยของคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร ที่ได้ดำเนินการมาตั้งแต่ปี 2553-2560 นั้นพบว่าประสบปัญหาฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอน (PM10) มาโดยตลอด ดังนั้นวิทยานิพนธ์นี้มุ่งเน้นศึกษาผลการรับสัมผัสทางการหายใจและค่าผลกระทบต่อสุขภาพจากฝุ่น PM10 ของอาสาสมัครทั้ง 6 สายงาน ได้แก่ อาจารย์, เจ้าหน้าที่มหาวิทยาลัย, นิสิต, เจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัย, แม่บ้าน และเจ้าหน้าที่ดูแลสวน ที่มีกิจกรรมบริเวณคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยทำการเก็บตัวอย่างฝุ่น PM10 ด้วยเครื่องเก็บตัวอย่างอากาศส่วนบุคคล ซึ่งกำหนดอัตราการไหลของอากาศเป็น 1.7 ลิตรต่อนาที ในระยะเวลา 8 ชั่วโมง ครอบคลุมพื้นที่ทั้ง 4 อาคารของคณะวิศวกรรมศาสตร์ โดยการเก็บข้อมูลทั้งสิ้น 50 ตัวอย่าง ตั้งแต่เดือนมกราคม-มีนาคม 2562 ผลการศึกษาพบว่าสายงานอาจารย์มีค่าการรับสัมผัสฝุ่น PM10 ทางการหายใจต่ำสุดที่ 0.75x10-4 มก./กก.-วัน สายงานเจ้าหน้าที่รักษาความปลอดภัยมีค่าการรับสัมผัสฝุ่น PM10 ทางการหายใจสูงสุดที่ 2.1x10-4 มก./กก.-วัน แต่เมื่อจัดสายงานเป็น 3 กลุ่มหลัก ได้แก่ กลุ่มสายงานวิชาการ กลุ่มสายงานนิสิต และกลุ่มสายงานสนับสนุน พบว่ากลุ่มสายงานวิชาการได้รับผลกระทบต่อสุขภาพที่ HQ=8.12x10-3 และกลุ่มสายงานนิสิตได้รับผลกระทบต่อสุขภาพที่ HQ=7.86x10-3 ซึ่งทั้ง 2 กลุ่มได้รับผลกระทบต่อสุขภาพน้อยกว่ากลุ่มสายงานสนับสนุนในขณะเป็นฐานเปรียบเทียบ แต่อย่างไรก็ตามผลลัพธ์ HQ ไม่เกิน “1” นั่นแสดงว่าไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพในภาวะปกติของร่างกาย ที่ระดับค่าสัมประสิทธิ์การกำหนดเท่ากับ 59.70% และยังแสดงให้เห็นว่าสายงานที่มีกิจกรรมภายนอกอาคารมีโอกาสรับสัมผัสกับฝุ่น PM10 มากกว่าสายงานที่มีกิจกรรมภายในอาคาร ทั้งนี้ไม่พบค่าบ่งชี้ถึงความเสี่ยงสูงต่อสุขภาพth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการรับสัมผัสth
dc.subjectผลกระทบต่อสุขภาพth
dc.subjectฝุ่นละอองขนาดเล็กไม่เกิน 10 ไมครอนth
dc.subjectมหาวิทยาลัยนเรศวรth
dc.subjectInhalation exposureen
dc.subjectHealth effectsen
dc.subjectPM10en
dc.subjectNaresuan Universityen
dc.subject.classificationEngineeringen
dc.titleการรับสัมผัสฝุ่น PM10 และผลกระทบต่อสุขภาพ ของบุคลากรในคณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยนเรศวร และการจัดการฝุ่นth
dc.titleThe Inhalation exposure and health effect of PM10 of population in Faculty of Engineering, Naresuan University and particle managementen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะวิศวกรรมศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061178.pdf7.71 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.