Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6518
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAraya Sukkasemen
dc.contributorอารยา สุขเกษมth
dc.contributor.advisorKullapa Soratanaen
dc.contributor.advisorกุลภา โสรัตน์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-11-25T04:05:45Z-
dc.date.available2024-11-25T04:05:45Z-
dc.date.created2024en_US
dc.date.issued17/11/2024en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6518-
dc.description.abstractThe research, titled “Life Cycle Assessment of the MICE Industry: A Case of Phitsanulok Province”, aims to evaluate the global warming potential throughout the life cycle of MICE-related tourism activities in Phitsanulok Province. It also recommendations for aligning MICE tourism activities with low-carbon tourism practice. This quantitative study employs life cycle assessment (LCA) to analyze the global warming potential of three types of MICE events in Phitsanulok Province: Meetings, Incentives, and Conventions, focusing on the use of diesel fuel, electricity, and LPG, as well as waste management. The findings indicate that meetings have a total global warming potential of 2.12 kg CO2 eq per person, with waste management contributing the most at 38.06%. Incentives have a total global warming potential of 23.33 kg CO2 eq per person, with diesel fuel usage for travel being the largest contributor at 48.22%. Conventions have a total global warming potential of 0.13 kg CO2 eq per person, with electricity being the only contributing factor. Based on the LCA results, this research proposes strategies to promote low-carbon MICE events in Phitsanulok, including waste segregation to reduce landfill waste for meetings, route adjustments to reduce travel distance for incentives, and the use of renewable energy sources for conventions.en
dc.description.abstractงานวิจัยเรื่อง การประเมินตลอดวัฏจักรชีวิตของอุตสาหกรรมไมซ์: กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลก มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนตลอดวัฏจักรชีวิตของกิจกรรมการท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดพิษณุโลก และจัดทำข้อเสนอแนะแนวทางการดำเนินกิจกรรมการท่องเที่ยวอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดพิษณุโลก ให้สอดคล้องกับการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำ การวิจัยเชิงปริมาณนี้ ใช้การประเมินตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์หรือบริการ (Life cycle assessment: LCA) ในการวิเคราะห์ศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนตลอดวัฏจักรชีวิตของการจัดงานอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดพิษณุโลก ทั้งหมด 3 รูปแบบ ได้แก่ การประชุมสัมมนา (Meeting) การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล (Incentive) และการประชุมระดับชาติ (Convention) โดยพิจารณาจากพลังงาน 3 ประเภท คือ เชื้อเพลิงดีเซล ไฟฟ้า และก๊าซหุงต้ม (LPG) รวมถึงการจัดการขยะ จากผลการศึกษา พบว่า การประชุมสัมมนา มีค่าศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนรวม เท่ากับ 2.12 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อคน โดยการจัดการขยะเป็นปัจจัยที่มีผลต่อศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนของการประชุมสัมมนาทั้งหมดมากที่สุด คิดเป็น 38.06% การท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล มีค่าศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนรวม เท่ากับ 23.33 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อคน โดยการใช้เชื้อเพลิงดีเซลในการเดินทางมีสัดส่วนมากที่สุด คิดเป็น 48.22% ของศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนในการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัลทั้งหมด และการประชุมระดับชาติ มีค่าศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนรวม เท่ากับ 0.13 กิโลกรัมคาร์บอนไดออกไซด์เทียบเท่าต่อคน โดยพลังงานไฟฟ้าเป็นปัจจัยเดียวที่มีผล จากผลการประเมินตลอดวัฏจักรชีวิต งานวิจัยนี้เสนอแนวทางส่งเสริมการจัดงานอุตสาหกรรมไมซ์ของจังหวัดพิษณุโลก ให้อยู่ในรูปแบบการท่องเที่ยวแบบคาร์บอนต่ำ ได้แก่ การคัดแยกขยะเพื่อลดปริมาณขยะที่กำจัดในหลุมฝังกลบสำหรับการประชุมสัมมนา การปรับเปลี่ยนเส้นทางเพื่อลดระยะทางสำหรับการท่องเที่ยวเพื่อเป็นรางวัล และการเลือกใช้ไฟฟ้าจากแหล่งพลังงานหมุนเวียน (Renewable energy) สำหรับการประชุมระดับชาติth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการประเมินตลอดวัฏจักรชีวิตของผลิตภัณฑ์หรือบริการth
dc.subjectค่าศักยภาพการเกิดภาวะโลกร้อนth
dc.subjectอุตสาหกรรมไมซ์th
dc.subjectการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนth
dc.subjectการท่องเที่ยวคาร์บอนต่ำth
dc.subjectLife Cycle Assessmenten
dc.subjectGlobal Warming Potentialen
dc.subjectMICE industryen
dc.subjectSustainable tourismen
dc.subjectLow Carbon Tourismen
dc.subject.classificationEnvironmental Scienceen
dc.subject.classificationOther service activitiesen
dc.titleLife Cycle Assessment of MICE Industry: a case of Phitsanulok Province              en
dc.titleการประเมินวัฏจักรชีวิตของอุตสาหกรรมไมซ์: กรณีศึกษาจังหวัดพิษณุโลกth
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorKullapa Soratanaen
dc.contributor.coadvisorกุลภา โสรัตน์th
dc.contributor.emailadvisorkullapas@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorkullapas@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Science (M.S.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
dc.description.degreedisciplineen
dc.description.degreedisciplineth
Appears in Collections:คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
64062455.pdf3.13 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.