Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6239
Title: | The Use of Lactobacillus and Yeast Fermentation Process of Sugarcane on Rumen Fermentation, Milk Yield and Milk Quality การใช้ Lactobacillus และ Yeast ในกระบวนการหมักอ้อยต่อการหมักย่อยในกระเพาะรูเมน ผลผลิตน้ำนม และคุณภาพน้ำนม |
Authors: | Tanachot Tongyoy ธนโชติ ทองย้อย Tossaporn Incharoen ทศพร อินเจริญ Naresuan University Tossaporn Incharoen ทศพร อินเจริญ tossaporni@nu.ac.th tossaporni@nu.ac.th |
Keywords: | ต้นอ้อยหมักหรืออ้อยหมัก Lactobacillus plantarum Lactobacillus fermentum Saccharomyces cerevisiae Sugarcane Lactobacillus plantarum Lactobacillus fermentum Saccharomyces cerevisiae |
Issue Date: | 23 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The purpose of this study is to evaluate the use of fermented sugarcane or sugarcane fermented with microorganisms as a roughage source for lactating cows. Experiment 1 studied the effects of fermenting corn silage, sugarcane silage with Lactobacillus plantarum (SSLP) at a level of 1X107 cfu/g, Lactobacillus fermentum (SSLF) at a level of 1X107 cfu/g, and Saccharomyces cerevisiae (SSSC) at a level of 1X107 cfu/g on the nutritional value of the fermented sugarcane. It was found that the protein and moisture content of the sugarcane fermented with all three types of bacteria were higher than those of non-inoculated fermented sugarcane, but other nutritional values were similar. Experiment 2 studied the nutrient digestibility of fermented sugarcane using the Nylon bag technique in the rumen of fistulated Thai native bulls. The sample was incubated in rumen at 0, 4, 8, 12, 24, 48, and 72 hours. It was found that the digestibility of dry matter in the ensiled sugarcane without microorganisms (SS) was higher than all other experimental groups (P0.05). Furthermore, the milk quality; milk fat quantity, milk protein, lactose, and somatic cell count were not significantly different (P>0.05). In addition, there was no significant difference found in economic returns (P>0.05), but the cost of the fermented sugarcane group was lower than that of all other experimental groups (P การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อประเมินผลของการใช้อ้อยหมักด้วยจุลินทรีย์เพื่อเป็นแหล่ง อาหารหยาบสำหรับโครีดนม การทดลองที่ 1 ศึกษาผลของการหมักอ้อยด้วยจุลินทรีย์ต่อคุณค่าทางโภชนะโดยใช้ต้นข้าวโพดหมัก, อ้อยหมัก และอ้อยหมักด้วยจุลินทรีย์ Lactobacillus plantarum (SSLP) ที่ระดับ 1X107 cfu/g Lactobacillus fermentum (SSLF) ที่ระดับ 1X107 cfu/g และจุลินทรีย์ Saccharomyces cerevisiae (SSSC) ที่ระดับ 1X107 cfu/g จากการศึกษาพบว่าอ้อยหมักด้วยจุลินทรีย์ทุกชนิดมีปริมาณโปรตีนและความชื้นสูงกว่าอ้อยหมักแบบไม่เสริมเชื้อจุลินทรีย์ แต่ค่าโภชนะอื่นๆมีค่าใกล้เคียงกัน ศึกษาการย่อยได้ของ โภชนะของอาหารหยาบจากอ้อยหมักด้วยจุลินทรีย์ชนิดต่าง ๆ ในกระเพาะรูเมนด้วยวิธี Nylon bag technique ทำการประเมินการย่อยได้ของโภชนะในกระเพาะรูเมนของโคพันธุ์พื้นเมืองเจาะกระเพาะด้วย เทคนิคการย่อยได้โดยใช้ถุงไนล่อน โดยทำการทดสอบที่ชั่วโมงที่ 0 4 8 12 24 48 และ 72 จากการทดลอง พบว่า อ้อยหมักโดยไม่ใช้จุลินทรีย์ (SS) มีการย่อยได้ของวัตถุแห้งมากกว่าทุกกลุ่มการทดลอง (P0.05) ในด้านคุณภาพน้ำนม ปริมาณไขมันนม โปรตีนนม แล็กโตส ของแข็งในนม และปริมาณโซมาติกเซลล์ไม่แตกต่างกัน (P>0.05) นอกจากนี้ผลกำไรพบว่าไม่แตกต่างกัน (P>0.05) แต่ต้นทุนค่าอาหารของกลุ่มที่ใช้อ้อยหมักต่ำกว่า ทุกกลุ่มการทดลอง (P |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6239 |
Appears in Collections: | คณะเกษตรศาสตร์ ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62062181.pdf | 3.55 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.