Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6136
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorRadamanee Noimaen
dc.contributorรดามณี น้อยมาth
dc.contributor.advisorRung Wongwaten
dc.contributor.advisorรุ่ง วงศ์วัฒน์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-06-12T02:50:01Z-
dc.date.available2024-06-12T02:50:01Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6136-
dc.description.abstractThe objective of this cross-sectional analytical study was to investigate the factors affecting service receiving among hypertension patients in Phichai District, Uttaradit Province.The 388 samples were selected by systematic random sampling.The research instruments included the predisposing factors questionnaire, need factors questionnaire with the reliability of 0.87, enabling factors questionnaire with the reliability of 0.84 and service receiving  questionnaire. Data were collected from June to August , 2022. The data were analyzed by using descriptive statistics frequency, percentage, mean, standard deviation, and binary logistic regression analysis. Research results revealed that 78.87% of hypertension patients had met the index of services. The factors that affected service behaviors among hypertension patients at statistically significant including the aged (aOR=3.08, 95% CI=1.03-9.23, p< .05), sick period (aOR=1.97, 95% CI=1.72-5.44, p< .05), having complications(aOR =0.38, 95% CI=0.15-0.38, p<.05), perceived risk of complications (aOR=3.03, 95% CI=1.07-8.58, p< .05), perceived of violence (aOR=3.29, 95% CI=1.13-9.57, p< .05), types of health service offices (aOR=3.05, 95% CI=1.10-8.51, p< .05), service time (aOR= .21, 95% CI=.07-.69, p< .01), receiving information by oneself (aOR=3.82 , 95% CI=1.49-9.76, p< .001) receiving advice from health officials (aOR=4.06 , 95% CI=1.22-9.54, p< .05), ability to access the service (aOR=9.17, 95% CI=1.53-15.08, p< .01), receiving social support (aOR=3.92, 95% CI=1.24-12.38, p< .05) service confidence (aOR=5.12, 95% CI=1.76-18.28, p< .01), and equality in access to services (aOR=7.61, 95% CI=1.20-28.06, p< .05) This research suggests that health organization or health personnel involved in providing services to hypertension patients should pay attention to factors such as the aged sick period, complications, perceive risk of complications, perceived of violence, receiving information by oneself, receiving advice from health officials, ability to access the service , receiving social support , service confidence , and equality in access to services so that hypertension patients can receive services met the index of services.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยเชิงวิเคราะห์ภาคตัดขวาง เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์ ศึกษากับกลุ่มตัวอย่างจำนวน 388 คน โดยการสุ่มแบบเป็นระบบ เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย แบบสอบถามปัจจัยนำ แบบสอบถามปัจจัยจำเป็น มีค่าความเชื่อมั่น 0.87 แบบสอบถามปัจจัยสนับสนุน มีค่าความเชื่อมั่น 0.84 และแบบสอบถามการรับบริการของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูง เก็บรวบรวมข้อมูลในช่วงเดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม 2565 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์การถดถอยแบบโลจิสติกแบบทวิ ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยรับบริการครบตามเกณฑ์ ร้อยละ 78.87  และปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ได้แก่ อายุ (aOR=3.08, 95% CI=1.03-9.23, p< .05) ระยะเวลาที่ป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูง (aOR=1.97, 95% CI=1.72-5.44, p< .05) ภาวะแทรกซ้อนการเป็นโรคความดันโลหิตสูง (aOR =0.38, 95% CI=0.15-0.38, p<.05) การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน (aOR=3.03, 95% CI=1.07-8.58, p< .05) การรับรู้ความรุนแรง (aOR=3.29, 95% CI=1.13-9.57, p< .05) ประเภทสถานบริการ (aOR=3.05, 95% CI=1.10-8.51, p< .05) ระยะเวลาในการรับบริการที่คลินิกโรคความดันโลหิตสูง (aOR= .21, 95% CI=.07-.69, p< .01) การได้รับข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง (aOR=3.82 , 95% CI=1.49-9.76, p< .001) การได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (aOR=4.06 , 95% CI=1.22-9.54, p< .05) ความสามารถในการเข้าถึงบริการ (aOR=9.17, 95% CI=1.53-15.08, p< .01) การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม (aOR=3.92,  95% CI=1.24-12.38, p< .05) ความมั่นใจในบริการ (aOR=5.12, 95% CI=1.76-18.28, p< .01) และความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ(aOR=7.61, 95% CI=1.20-28.06, p< .05) จากการวิจัยครั้งนี้มีข้อเสนอแนะว่า หน่วยงานบริการสุขภาพหรือบุคลากรสุขภาพที่เกี่ยวข้องกับการให้บริการผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงควรให้ความสำคัญกับปัจจัย ได้แก่ ภาวะแทรกซ้อนจากการเป็นโรคความดันโลหิตสูง การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดภาวะแทรกซ้อน การรับรู้ความรุนแรงของโรคความดันโลหิตสูง การได้รับข้อมูลข่าวสารด้วยตนเอง การได้รับคำแนะนำจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ความสามารถในการเข้าถึงบริการ แรงสนับสนุนทางสังคม ความมั่นใจในบริการ และความเสมอภาคในการเข้าถึงบริการ เพื่อให้ผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในการเข้ารับบริการให้ครบตามเกณฑ์ที่กำหนดth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการรับบริการth
dc.subjectผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectService Receivingen
dc.subjectHypertension Patientsen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการรับบริการของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงในอำเภอพิชัย จังหวัดอุตรดิตถ์th
dc.titleFactors Affecting The Service Receiving among Hypertension Patients in Phichai District, Uttaradit  Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorRung Wongwaten
dc.contributor.coadvisorรุ่ง วงศ์วัฒน์th
dc.contributor.emailadvisorrungw@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorrungw@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
RadamaneeNoima.pdf1.98 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.