Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6131
Title: | ปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปอำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร Factors predicting the quality of life among elderly people aged 70 years and olderin Bangmulnak District, Phichit Province |
Authors: | Prapimporn Sengchuen ประพิมพ์พร เส็งชื่น Wutthichai Jariya วุฒิชัย จริยา Naresuan University Wutthichai Jariya วุฒิชัย จริยา wutthichaij@nu.ac.th wutthichaij@nu.ac.th |
Keywords: | คุณภาพชีวิต ผู้สูงอายุ ความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน Quality of life elderly Barthel Activities of Daily Living (ADL) |
Issue Date: | 2566 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | This cross-sectional research aimed to study the factors predicting the quality of life among elderly people aged 70 years and older in Bang Mun Nak District, Phichit Province. The sample consisted of 304 elderly people aged 70 and older. A questionnaire with a Cronbach alpha coefficient ranging from 0.701 to 0.883 was used to obtain the data. Multiple regression analysis and descriptive statistics were used to analyze the data.
The results found that the quality of life among elderly people aged 70 years and older was in the middle level (Mean= 2.22, S.D.= 0.43). The quality of life in physical health aspect was in the middle level (Mean = 2.128, S.D.= 0.406). The quality of life in mental health aspect was in the middle level (Mean = 2.361, S.D.= 0.508). The quality of life in social relationship aspect was in the middle level (Mean= 2.095, S.D.= 0.509). The quality of life in the environment aspect was in the middle level (Mean= 2.335, S.D.= 0.486). Factors predicting quality of life among elderly people aged 70 years and older consisted of daily living ability (ADL) (B=0.251), sleep behavior (B=0.144), participation in community activities (B=0.184), food consumption behavior (B=0.144) and depression (B=-0.113). Such factors could predict the quality of life among elderly people aged 70 years and older with 19.9 percent.
Therefore, the results of this research revealed the factors predicting the quality of life among elderly people aged 70 years and older and it can be used as information to develop the policies and operational plans to promote a better quality of life for among elderly people. การวิจัยแบบภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 70 ปี ขึ้นไป อำเภอบางมูลนาก จังหวัดพิจิตร กลุ่มตัวอย่างคือผู้สูงอายุที่มีอายุ 70 ขึ้นไป จำนวน 304 ราย รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่มีค่าสัมประสิทธิ์อัลฟาครอนบาคระหว่าง 0.701-0.883 วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติพรรณนาและสถิติการวิเคราะห์ถดถอยเชิงพหุคูณแบบขั้นตอน ผลการศึกษา พบว่า คุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป โดยรวมอยู่ในระดับกลางๆ (Mean= 2.22, S.D.= 0.43) คุณภาพชีวิตด้านสุขภาพกาย (Mean = 2.128, S.D.= 0.406) อยู่ในระดับกลางๆ คุณภาพชีวิตด้านจิตใจ (Mean= 2.361, S.D.= 0.508) อยู่ในระดับกลางๆ คุณภาพชีวิตด้านสัมพันธภาพทางสังคม (Mean= 2.095, S.D.= 0.509) อยู่ในระดับกลางๆ และคุณภาพชีวิตด้านสิ่งแวดล้อม (Mean= 2.335, S.D.= 0.486) อยู่ในระดับกลางๆ นอกจากนี้ ปัจจัยที่สามารถทำนายคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไป ประกอบด้วย ความสามารถในการดำเนินชีวิตประจำวัน (ADL) (B=0.251) พฤติกรรมการนอนหลับ (B=0.144) การเข้าร่วมกิจกรรมชุมชน (B=0.184) พฤติกรรมการบริโภคอาหาร (B=0.144) และ ภาวะซึมเศร้า (B=-0.113) โดยปัจจัยดังกล่าวสามารถร่วมกันทำนายคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ 70 ปีขึ้นไปได้ ร้อยละ 19.9 ดังนั้น ผลการวิจัยนี้ทำให้ทราบถึงปัจจัยที่มีผลต่อคุณภาพชีวิตผู้สูงอายุอายุ 70 ปีขึ้นไปซึ่งสามารถนำไปใช้เป็นข้อมูลในการพัฒนานโยบายและแผนการดำเนินงานเพื่อส่งเสริมให้ผู้สูงอายุมีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6131 |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PrapimpornSengchuen.pdf | 2.91 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.