Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6098
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Ruttanawadee Papang | en |
dc.contributor | รัตนาวดี ปาแปง | th |
dc.contributor.advisor | Thanya Sangkhaphanthanon | en |
dc.contributor.advisor | ธัญญา สังขพันธานนท์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-06-12T02:01:37Z | - |
dc.date.available | 2024-06-12T02:01:37Z | - |
dc.date.created | 2566 | en_US |
dc.date.issued | 2566 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6098 | - |
dc.description.abstract | This research investigates the ecological consciousness and traditional ecological knowledge of Lanna as presented in Mala Khamchan’s novels, exploring the strategies used for their portrayal and their cultural meanings. The study analyzed 26 of Khamchan's novels. Findings reveal that ecological consciousness and traditional ecological knowledge of Lanna are depicted through two main aspects: 1) ecological consciousness, including traditional, Buddhist, and new ecological perspectives, highlightingthe relationship between humans and nature, and the representation and giving importance to nature, and 2) traditional ecological knowledge of Lanna, reflecting the Lanna way of life and nature conservation practices, demonstrating human interactions with nature. The research identified five strategies for presenting these concepts: 1) outlining portent, 2) creating farmer and hunter characters, 3) depicting natural scenes through real and special spaces, 4) incorporating intertextuality from local stories, legends, and ritual traditions, and 5) utilizing novelistic elements to connect with pre-existing ritual traditions. In addition, the cultural meanings of these ecological concepts are presented through three dimensions: 1) beliefs and traditions, 2) gender, and 3) identity and ethnicity, illustrating the natural significance within the cultural context of the novels. In conclusion, the writer employs ecological consciousness and traditional ecological knowledge of Lanna as tools to express identity and challenge homocentrism, emphasizing a holistic view of nature and reinforcing that humans are only one part of the ecosystem. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์ฉบับนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษานิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา กลวิธีการนำเสนอนิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา และความหมายทางวัฒนธรรมของนิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนาในนวนิยายของมาลา คำจันทร์ จำนวน 26 เรื่อง ผลการศึกษาพบว่า นิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศ แบบดั้งเดิมของล้านนา มีการนำเสนอ 2 ลักษณะ ได้แก่ ด้านจิตสำนึกเชิงนิเวศ แสดง ให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับธรรมชาติ ภาพแทนและการให้ความสำคัญกับธรรมชาติ ผ่านจิตสำนึกเชิงนิเวศแบบดั้งเดิม แนวพุทธ และแนวใหม่ ส่วนองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา แสดงให้เห็นวิธีคิดและวิถีปฏิบัติที่มนุษย์มีต่อธรรมชาติผ่านองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา วิถีชีวิตคนล้านนา และล้านนากับการอนุรักษ์ธรรมชาติ กลวิธีการนำเสนอนิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา มีการนำเสนอ 5 ลักษณะ ได้แก่ โครงเรื่องอาเพศ การสร้างตัวละครเกษตรกรและนายพราน การสร้างฉากธรรมชาติผ่านพื้นที่จริงและพื้นที่พิเศษ สหบทจากเรื่องเล่าและตำนานท้องถิ่น และสหบทจากประเพณีพิธีกรรม กลวิธีการนำเสนอผ่านองค์ประกอบของนวนิยายทำให้เห็นการสร้างตัวบทของนักเขียนโดยเชื่อมโยงข้อมูลจากประเพณีพิธีกรรมที่มีมาก่อน ด้านความหมายทางวัฒนธรรมของนิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา มีการนำเสนอ 3 ลักษณะ ได้แก่ ความหมาย ในมิติของความเชื่อและประเพณี มิติเรื่องเพศ และมิติอัตลักษณ์และชาติพันธุ์ เพื่อแสดงให้เห็น นัยทางธรรมชาติผ่านความหมายทางวัฒนธรรมที่ปรากฏในนวนิยาย โดยสรุปแล้ว นิเวศสำนึกและองค์ความรู้นิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนาที่ปรากฏในนวนิยายของมาลา คำจันทร์ ถูกนักเขียนใช้เป็นเครื่องมือแสดงอัตลักษณ์ เพื่อต่อรองและตอบโต้กับแนวคิด การยึดมนุษย์เป็นศูนย์กลาง โดยการให้ความสำคัญกับธรรมชาติ มองธรรมชาติอย่างเป็นองค์รวม อีกทั้งยังตอกย้ำให้เห็นว่ามนุษย์เป็นเพียงสิ่งมีชีวิตหนึ่งในระบบนิเวศเท่านั้น | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | นิเวศสำนึก | th |
dc.subject | องค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิม | th |
dc.subject | การวิจารณ์เชิงนิเวศ | th |
dc.subject | มาลา คำจันทร์ | th |
dc.subject | Ecological Consciousness | en |
dc.subject | Traditional Ecological Knowledge | en |
dc.subject | Ecocriticism | en |
dc.subject | Mala Khamchan | en |
dc.subject.classification | Arts and Humanities | en |
dc.subject.classification | Information and communication | en |
dc.subject.classification | Foreign languages | en |
dc.title | แนวคิดนิเวศสำนึกและองค์ความรู้เชิงนิเวศแบบดั้งเดิมของล้านนา ในนวนิยายของมาลา คำจันทร์ | th |
dc.title | LANNA ECOLOGICAL CONSCIOUSNESS AND TRADITIONAL ECOLOGICAL KNOWLEDGE IN MALA KHAMCHAN’S NOVELS | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Thanya Sangkhaphanthanon | en |
dc.contributor.coadvisor | ธัญญา สังขพันธานนท์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | thanyas@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | thanyas@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Philosophy (Ph.D.) | en |
dc.description.degreename | ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต (ปร.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
dc.description.degreediscipline | Department of Thai | en |
dc.description.degreediscipline | ภาควิชาภาษาไทย | th |
Appears in Collections: | คณะมนุษยศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RuttanawadeePapang.pdf | 3.18 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.