Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6064
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorChananthida Boonjingen
dc.contributorชนัญธิดา บุญจริงth
dc.contributor.advisorJessada Pochanen
dc.contributor.advisorเจษฎา โพธิ์จันทร์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-05-28T02:14:17Z-
dc.date.available2024-05-28T02:14:17Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/6064-
dc.description.abstractThe purpose of this study is to develop a conceptual framework for modeling the Connectivity Hub Locations of Multimodal Transportation for Tourism in Nakhon Ratchasima Province and to analyze the most suitable location for the multimodal transportation hub for tourism. The methodology encompasses three primary phases: First, gathering secondary data about tourism and transportation connectivity, encompassing infrastructure and travel information. Secondly, devising a model for the connectivity hub locations leveraging the Location Choice Model for the Hub Location Problem. Lastly, the model was applied to Nakhon Ratchasima, dissecting the analysis into two scenarios: one incorporating a connectivity hub and the other without. The aim is to scrutinize and compare overall travel expenses, discerning the optimal number and positioning of central hubs for facilitating multimodal transport for tourism. The results of the study demonstrate the efficacy of the proposed conceptual framework in informing decision-making processes concerning the establishment of a multimodal transport linkage center for tourism in Nakhon Ratchasima. The study identified three potential hub locations: Nai Mueang Subdistrict, Mueang Nakhon Ratchasima District; Khlong Muang Subdistrict, Pak Chong District; and Pak Chong Subdistrict, Pak Chong District. These locations collectively incurring overall travel expenses amounting to 641,813 baht per day, which can reduce overall travel expenses by 241,994 baht per day. Furthermore, the study highlights the potential cost-saving benefits of implementing these hubs, projecting a potential reduction in travel costs by 27.38% compared to scenarios devoid of connectivity hubs.en
dc.description.abstractการศึกษาการสร้างแบบจำลองที่ตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงของการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา มีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอกรอบแนวคิดในการสร้างแบบจำลองที่ตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมา และเพื่อวิเคราะห์ตำแหน่งที่ตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยวที่เหมาะสมสำหรับจังหวัดนครราชสีมา โดยมีขั้นตอนการดำเนินงานวิจัย 3 ขั้นตอน ประกอบไปด้วย 1) การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและการเชื่อมโยงการขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยว 2) การพัฒนาแบบจำลองที่ตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยว ตามหลักการการเลือกทำเลที่ตั้ง แบบปัญหาการเลือกตำแหน่งฮับ และ 3) การประยุกต์ใช้แบบจำลองกับจังหวัดนครราชสีมา ซึ่งแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็น 2 กรณี คือ กรณีไม่มีและกรณีมีศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่ง เพื่อวิเคราะห์และเปรียบเทียบค่าใช้จ่ายโดยรวมในการเดินทาง รวมทั้งหาจำนวนและตำแหน่งที่ตั้งที่เหมาะสมของศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่ง ผลการศึกษาพบว่า กรอบแนวคิดในการสร้างแบบจำลองสามารถให้แบบจำลองที่ช่วยสนับสนุนข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการจัดตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมาได้ และการจัดตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยว จำนวน 3 แห่ง ในพื้นที่ตำบลในเมือง อำเภอเมืองนครราชสีมา ตำบลคลองม่วง อำเภอปากช่อง และตำบลปากช่อง อำเภอปากช่อง เป็นจำนวนที่เหมาะสมสำหรับจังหวัดนครราชสีมา เนื่องมีค่าใช้จ่ายรวมในการเดินทางต่ำที่สุด 641,813 บาท/วัน ซึ่งสามารถลดค่าใช้จ่ายรวมในการเดินทางลงได้ 241,994 บาทต่อวัน หรือ ลดลดค่าใช้จ่ายรวมในการเดินทางลงประมาณ 27.38% เมื่อเทียบกับกรณีไม่มีศูนย์กลางการเชื่อมโยงการขนส่งth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแบบจำลองการเลือกทำเลที่ตั้งth
dc.subjectการเชื่อมโยงต่อการเดินทางth
dc.subjectการท่องเที่ยวth
dc.subjectLocation Choice Modelen
dc.subjectConnectivity Huben
dc.subjectTourismen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationMathematicsen
dc.subject.classificationTransportation and storageen
dc.titleการสร้างแบบจำลองที่ตั้งศูนย์กลางการเชื่อมโยงของการขนส่งต่อเนื่อง หลายรูปแบบเพื่อการท่องเที่ยวในจังหวัดนครราชสีมาth
dc.titleModeling the Connectivity Hub Locations of Multimodal Transportation for Tourism in Nakhon Ratchasimaen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorJessada Pochanen
dc.contributor.coadvisorเจษฎา โพธิ์จันทร์th
dc.contributor.emailadvisorjessadapo@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorjessadapo@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameMaster of Science (M.S.)en
dc.description.degreenameวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.)th
dc.description.degreelevelMaster's Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาโทth
Appears in Collections:คณะโลจิสติกส์และดิจิทัลซัพพลายเชน

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
ChanathidBopponjing.pdf3.87 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.