Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5935
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Pannaphat Wongthiraphong | en |
dc.contributor | ปรรณพัชร์ วงศ์ธีราพงษ์ | th |
dc.contributor.advisor | Sane Saengngoen | en |
dc.contributor.advisor | เสน่ห์ แสงเงิน | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2024-01-30T02:28:40Z | - |
dc.date.available | 2024-01-30T02:28:40Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5935 | - |
dc.description.abstract | This research is a quasi-experimental research that aimed to study the effectiveness of a behavior modification program in the prevention and control of dengue fever among people in mango orchard at Wang Thap Sai sub-district, Sak-Lek district, Phichit province. The sample group consisted of 108 household leaders, 54 were the experimental group and another 54 were the comparison group. The duration of the program is 12 weeks. The main purpose was to compare the mean of the two populations that are independent of each other. Collecting data by a tool designed by applying the Health Belief Model. Data were analyzed by descriptive statistics and inferential statistics; Independent t-test and Repeated measure ANOVA. The study found that after the experiment, the experimental group received the behavior modification program for the prevention and control of dengue fever has a higher mean score of knowledge of dengue fever; awareness of the risk of dengue fever; perception of the severity of dengue fever; perception of benefits for prevention and control of dengue fever; perception of barriers to prevention and control of dengue fever; and behaviors for prevention and control of dengue fever than before receiving the program, and higher than the comparison group. Also, self-efficacy in preventing and controlling dengue fever lower than before receiving the program and lower than the comparison group. and the Aedes larvae index (CI) was lower than before the program. but higher than the comparison group statistically significant | en |
dc.description.abstract | การวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลอง (Quasi-experimental research) มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่สวนมะม่วง ตำบลวังทับไทร อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร กลุ่มตัวอย่างเป็นแกนนำครัวเรือน จำนวน 108 คน เป็นกลุ่มทดลองจำนวน 54 คน และกลุ่มเปรียบเทียบ จำนวน 54 คน ใช้ระยะเวลาในการดำเนินโปรแกรมทั้งหมด 12 สัปดาห์ โดยสูตรการคำนวณกลุ่มตัวอย่างเพื่อเปรียบเทียบค่าเฉลี่ยของประชากรทั้ง 2 กลุ่มที่เป็นอิสระต่อกัน เก็บรวบรวมข้อมูลจากเครื่องมือที่ออกแบบโดยประยุกต์ใช้แบบแผนความเชื่อด้านสุขภาพ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และสถิติเชิงอนุมาน Independent t-test และ Repeated measure ANOVA ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลอง กลุ่มทดลองที่ได้รับโปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรมในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก มีความรู้เกี่ยวกับโรคไข้เลือดออก การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคไข้เลือดออก การรับรู้ความรุนแรงของโรคไข้เลือดออก การรับรู้ประโยชน์ต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก การรับรู้อุปสรรคต่อการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก และพฤติกรรมการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก สูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ มีการรับรู้ความสามารถของตนเองในการป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออก ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและต่ำกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ และมีค่าดัชนีลูกน้ำยุงลาย (CI) ต่ำกว่าก่อนได้รับโปรแกรม แต่สูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | โปรแกรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม | th |
dc.subject | การป้องกันและควบคุมโรค | th |
dc.subject | โรคไข้เลือดออก | th |
dc.subject | Behavior modification program | en |
dc.subject | Disease prevention and control | en |
dc.subject | Dengue fever | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมปรับเปลี่ยนพฤติกรรมป้องกันและควบคุมโรคไข้เลือดออกของประชาชนในพื้นที่สวนมะม่วง ตำบลวังทับไทร อำเภอสากเหล็ก จังหวัดพิจิตร | th |
dc.title | The Effectiveness of the Behavior Modification Program to Prevent and Control Dengue Fever of People Living in Mango Orchard Areas,Wang Thap Sai Sub-district, Sak Lak District Phichit Province. | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Sane Saengngoen | en |
dc.contributor.coadvisor | เสน่ห์ แสงเงิน | th |
dc.contributor.emailadvisor | sanes@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | sanes@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PannaphatWonghiraphong.pdf | 1.34 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.