Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5931
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSaichol Boonwisuttaanonen
dc.contributorสายชล บุญวิสุทธานนท์th
dc.contributor.advisorPattama Suphunnakulen
dc.contributor.advisorปัทมา สุพรรณกุลth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2024-01-30T02:28:39Z-
dc.date.available2024-01-30T02:28:39Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5931-
dc.description.abstractThe main objective of this mixed-method research was to develop a cognitive impairment risk assessment tool for pre-aging in Phitsanulok province. There were 4 phases as follows:  1) to study factors associated with mild cognitive impairment in pre-aging, 2) to study risk factors affecting mild cognitive impairment in pre-aging, 3) to develop a risk assessment tool for mild cognitive impairment for pre-aging, and  4) to evaluate the effectiveness of the risk assessment tool. The 340 samples were a population aged 50-59 years with cognitive impairment, and normal cognition, multi-stage random sampling. Data were collected by questionnaires. Data were analyzed using binary logistic regression statistics at the statistical significance level of 0.05. The results showed five risk factors affected the occurrence of mild cognitive impairment in the pre-aging as follows: Type 2 diabetes mellitus have the highest risk (Pseudo R2 = 90.45, P-value<0.001), followed by hypertension (Pseudo R2 = 56.73, P-value<0.001), Family history of dementia (Pseudo R2 = 36.36, P-value=0.002), dyslipidemia (Pseudo R2 = 13.43, P-value<0.001),  and body mass index over 25 (Pseudo R2 = 4.12, P-value=0.024), respectively. The five factors together predicted the incidence of mild cognitive impairment at 91.2% at the statistical significance level of 0.05. The researcher used these five factors as a framework for developing the risk assessment tool. When taking the model to evaluate its effectiveness, found to have a sensitivity of 95.5%.en
dc.description.abstractการวิจัยผสมผสานนี้มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยสำหรับวัยก่อนสูงอายุ จังหวัดพิษณุโลก แบ่งการวิจัยออกเป็น 4 ระยะ ดังนี้ 1) ศึกษาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในประชากรวัยก่อนสูงอายุ 2) ศึกษาปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อย ในกลุ่มประชากรวัยก่อนสูงอายุ 3) พัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในวัยก่อนสูงอายุ และ 4) ประเมินประสิทธิผลเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยฯ กลุ่มตัวอย่าง 340   ราย คือ ประชากรอายุ 50-59 ปี ที่มีภาวะการรู้คิดบกพร่องและมีการรู้คิดปกติ สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวมรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติถดถอยแบบไบนารี่โลจิสติก ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษา พบปัจจัยเสี่ยงที่ส่งผลต่อการเกิดการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยในประชากรวัยก่อนสูงอายุ จำนวน 5 ตัวแปร พบ การเป็นโรคเบาหวานชนิดที่2 มีความเสี่ยงสูงที่สุดถึง (Pseudo R2 = 90.45, P-value<0.001) รองลงมาได้แก่  มีภาวะความดันโลหิตสูง ( Pseudo R2 = 56.73, P-value<0.001) การมีประวัติสมองเสื่อมในครอบครัว (Pseudo R2 = 36.36, P-value=0.002)  มีภาวะไขมันในเลือดสูง  ( Pseudo R2 = 13.43, P-value<0.001) และ  มีค่าดัชนีมวลกาย เกิน 25 ( Pseudo R2 = 4.12, P-value=0.024) ตามลำดับ  ปัจจัยทั้ง 5 ร่วมกันทำนายการเกิดการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยฯ ร้อยละ 91.2   ผู้วิจัยนำตัวแปรทั้ง 5 ไปเป็นกรอบคิดในการพัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยสำหรับประชากรก่อนวัยสูงอายุ เมื่อนำไปทดลองใช้พบเครื่องมือประเมินความเสี่ยงฯ มีค่าความไว ร้อยละ 95.5th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectเครื่องมือประเมินth
dc.subjectการรู้คิดบกพร่องเล้กน้อยth
dc.subjectวัยก่อนสูงอายุth
dc.subjectAssessment toolen
dc.subjectMild cognitive impairmenten
dc.subjectPre-elderyen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleการพัฒนาเครื่องมือประเมินความเสี่ยงการรู้คิดบกพร่องเล็กน้อยสำหรับวัยก่อนสูงอายุ จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleDEVELOPMENT OF THE MILD COGNITIVE IMPAIRMENT RISK ASSESSMENT  TOOL FOR PRE-ELDERY IN PHITSANULOK PROVINCEen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPattama Suphunnakulen
dc.contributor.coadvisorปัทมา สุพรรณกุลth
dc.contributor.emailadvisorpattamas@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpattamas@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SaicholBoonwisuttaanon.pdf4.37 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.