Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5859
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWalaya Tupanichen
dc.contributorวัลยา ตูพานิชth
dc.contributor.advisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.advisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-10-31T04:08:04Z-
dc.date.available2023-10-31T04:08:04Z-
dc.date.created2566en_US
dc.date.issued2566en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5859-
dc.description.abstractThis sequential mixed method research design aims to develop a prevention model for the risks of depression among older adults with non-communicable diseases. There were 3 phases of the research process as follows: 1) The factors affecting that cause and influence the risks of depression among older adults with non-communicable diseases. 2) Create a model to prevent the risks of depression among older adults with non-communicable diseases. and 3) Examination of a prevention model for the risks of depression among older adults with non-communicable diseases. The results showed that 23.8 percent of the sample in Nonthaburi Province were at risk of depression. The factors contributing to the risk of depression among older adults with non-communicable diseases include status, income sufficiency, education, diabetes, health status, psychological well-being, loneliness, activities of daily living (ADL), Inadequate diet, insufficient sleep, alcohol, hobbies and family relationship. The prevention model for the risks of depression among older adults with non-communicable diseases consisted of the following 4 components: older adults, family, community and public health services. The model was evaluated by experts for suitability, accuracy, utility and feasibility at the highest level. The findings revealed that the prevention model for the risks of depression among older adults with non-communicable diseases can be used to prevent the risks of depression among older adults in the area and applied in other areas with similar contexts as appropriate.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงผสมผสานแบบแผนหลายระยะ (Sequential Mixed Methods Research Designs) ครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง แบ่งระยะการวิจัยเป็น 3 ระยะตามกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) ศึกษาปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง 2) การสร้างรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง และ 3) การตรวจสอบความเหมาะสมของรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ผลการวิจัยพบว่า กลุ่มตัวอย่างผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังในจังหวัดนนทบุรีมีความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้า ร้อยละ 23.8 โดยปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อความเสี่ยงในการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ได้แก่ สถานภาพหม้าย ความไม่เพียงพอของรายได้ การไม่ได้เรียน การเป็นโรคเบาหวาน สุขภาวะทางกาย ความผาสุกทางใจ ความว้าเหว่ ความสามารถในการปฏิบัติกิจวัตรประจำวัน (ADL) ผู้สูงอายุกลุ่มติดบ้าน การรับประทานอาหารไม่เพียงพอ การนอนหลับพักผ่อนไม่เพียงพอ การดื่มสุราเป็นประจำ หรือ บ่อยครั้ง การทำงานอดิเรก และสัมพันธภาพในครอบครัว รูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรัง ประกอบด้วย 4 องค์ประกอบ ได้แก่ ผู้สูงอายุ ครอบครัว ชุมชน และบริการสาธารณสุข ซึ่งได้รับการประมินจากผู้เชี่ยวชาญด้านสุขภาพจิตและจิตเวชพบว่ามีความเหมาะสม (Propriety) ความถูกต้องครอบคลุม (Accuracy) ความเป็นประโยชน์ (Utility) และความเป็นไปได้ (Feasibility) อยู่ในระดับมากที่สุด แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังที่พัฒนาขึ้นสามารถนำไปใช้ในการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังได้ในพื้นที่ และประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆที่มีบริบทใกล้เคียงตามความเหมาะสมต่อไป’th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการป้องกันth
dc.subjectภาวะซึมเศร้าth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth
dc.subjectPreventionen
dc.subjectDepressionen
dc.subjectOlder adultsen
dc.subjectNon-communicable diseaseases (NCDs)en
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationHuman health and social work activitiesen
dc.subject.classificationNursing and caringen
dc.titleรูปแบบการป้องกันความเสี่ยงต่อการเกิดภาวะซึมเศร้าของผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคไม่ติดต่อเรื้อรังth
dc.titleA PREVENTION MODEL FOR THE RISKS OF DEPRESSION AMONG OLDER ADULTS  WITH NON-COMMUNICABLE DISEASESen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorPramote Wongsawaten
dc.contributor.coadvisorปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์th
dc.contributor.emailadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorpramotew@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
WalayaTupanich.pdf3.03 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.