Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5858
Title: | รูปแบบการสนับสนุนการจัดการตนเองสำหรับผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ผ่านแอปพลิเคชัน MODEL OF ENCOURAGING SELF-MANAGEMENT FOR PATIENTS WITH CHRONIC KIDNEY DISEASE STAGE 3 VIA THE APPLICATION |
Authors: | Prin Yoomuang ปริญญ์ อยู่เมือง Pattama Suphunnakul ปัทมา สุพรรณกุล Naresuan University Pattama Suphunnakul ปัทมา สุพรรณกุล pattamas@nu.ac.th pattamas@nu.ac.th |
Keywords: | โรคไตเรื้อรัง การจัดการตนเองของเครียร์ แอปพลิเคชัน Chronic kidney disease Creer’s self-management Application |
Issue Date: | 2567 |
Publisher: | Naresuan University |
Abstract: | The main objective of the mixed method was to develop an encouraging self-management model for patients with chronic kidney disease (CKD) stage 3 via an application. The research was divided into 3 phases: 1) to study behaviors and factors influencing self-management behaviors of CKD patients, 2) to develop an encouraging self-management model via application in CKD patients, and 3) to evaluate the effectiveness of the application. The study population was patients with CKD stage 3 in Suphanburi Province.
The results showed that 50.90% of CKD patients had a high level, and 40.10% had a moderate level of self-management behavior. The factor that had the highest influence on self-management behavior was social support from health care providers (Beta = 0.348, p-value < 0.001), followed by perceived benefits (Beta = 0.299, p-value < 0.001) and self-efficacy (Beta = 0.266, p-value < 0.001). These 3 factors predicted self-management behavior of the patients was 42.70% at the statistical significance level of 0.05. The researchers used all 3 factors as a framework for application development with Creer's self-management principle under the android operating system. When applied to the trial, found that the mean score of self-management behaviors in the experimental group was higher than the control group (Mean = 53.34, S.D.= 3.747, Mean = 48.97, S.D.= 4.490, respectively). The mean score of diastolic blood pressure in the experimental group decreased better than the control group (Mean = 72.72 mmHg S.D.= 6.228, Mean = 76.75 mmHg S.D.= 7.375, respectively). The mean score of renal function in the experimental group was higher than the control group (Mean = 47.75 mL/min/1.73 m², S.D.= 6.427, Mean = 42.40 mL/min/1.73 m², S.D.= 6.849, respectively), at a statistically significant level of 0.05. In conclusion, the developed application can slow CKD progression. Health personnel should be applied this model in caring for CKD stage 3. การวิจัยผสานวิธีนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อพัฒนารูปแบบการสนับสนุนการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ผ่านแอปพลิเคชัน แบ่งการวิจัยออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ 1) ศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง 2) พัฒนาแอปพลิเคชันสนับสนุนการจัดการตนเองในผู้ป่วยโรคไตเรื้อรัง และ 3) ประเมินประสิทธิผลแอปพลิเคชัน ประชากรที่ศึกษา คือ ผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ในจังหวัดสุพรรณบุรี ผลการวิจัยพบว่า ผู้ป่วยมีพฤติกรรมการจัดการตนเองในระดับสูง ร้อยละ 50.90 และระดับปานกลาง ร้อยละ 40.10 ปัจจัยที่อิทธิพลต่อพฤติกรรมการจัดการตนเองสูงที่สุด ได้แก่ แรงสนับสนุนทางสังคมจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (Beta = 0.348, p-value < 0.001) รองลงมา การรับรู้ประโยชน์ในการปฏิบัติตัว (Beta = 0.299, p-value < 0.001) และการรับรู้ความสามารถของตนเอง (Beta = 0.266, p-value < 0.001) ทั้ง 3 ปัจจัย ร่วมพยากรณ์พฤติกรรมการจัดการตนเองของผู้ป่วย ฯ ได้ร้อยละ 42.70 ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผู้วิจัยนำทั้ง 3 ปัจจัย มาเป็นกรอบในการพัฒนาแอปพลิเคชันร่วมกับแนวคิดการจัดการตนเองของเครียร์ภายใต้ระบบปฏิบัติการแอนดรอยด์ เมื่อนำไปทดลองใช้พบว่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมการจัดการตนเองของกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มควบคุม (Mean = 53.34 คะแนน S.D.= 3.747, Mean = 48.97 คะแนน S.D.= 4.490 ตามลำดับ) ค่าเฉลี่ยความดันโลหิตไดแอสโทลิกของกลุ่มทดลองลดลงดีกว่ากลุ่มควบคุม (Mean = 72.72 มิลลิเมตรปรอท S.D.= 6.228, Mean = 76.75 มิลลิเมตรปรอท S.D.= 7.375 ตามลำดับ) สำหรับอัตราการกรองของไตพบว่ากลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยอัตราการกรองของไตสูงกว่ากลุ่มควบคุม (Mean = 47.75 มิลลิลิตร/นาที/1.73 ตารางเมตร S.D.= 6.427, Mean = 42.40 มิลลิลิตร/ นาที/1.73 ตารางเมตร S.D.= 6.849 ตามลำดับ) อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 สรุปได้ว่าแอปพลิเคชันที่พัฒนาขึ้นสามารถชะลอภาวะไตเสื่อม ควรนำไปประยุกต์ใช้ในการดูแลผู้ป่วยโรคไตเรื้อรังระยะที่ 3 ต่อไป |
URI: | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5858 |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
PrinYoomuang.pdf | 5.21 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.