Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5608
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSupranee Joyroden
dc.contributorสุปราณี จ้อยรอดth
dc.contributor.advisorArchin Songthapen
dc.contributor.advisorอาจินต์ สงทับth
dc.contributor.otherNaresuan Universityen
dc.date.accessioned2023-07-07T02:55:39Z-
dc.date.available2023-07-07T02:55:39Z-
dc.date.created2565en_US
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5608-
dc.description.abstractThis mixed method research aimed to development of a model for overweight prevention among jurior high school by multilateral participation in the Eastern Economic Corridor Chachoengsao. This research compared of 3 phases: 1) studying the causes and factors that contribute to the prevention of overweight among junior high school students, with the multilateral participation in in the Eastern Economic Corridor Chachoengsao Province, 2) developing a model for preventing overweight among junior high school students, involving multilateral participation in in the Eastern Economic Corridor Chachoengsao Province and 3) evaluating the effectiveness of the overweight prevention model among junior high school students, with the multilateral participation in in the Eastern Economic Corridor Chachoengsao Province The findings showed that the model for overweight prevention among jurior high school by multilateral participation in the Eastern Economic Corridor Chachoengsao consisted of 5 components including 1) knowledge about dietary and exercise behaviors, 2) diet and exercise habits, 3)  student income management, 4) support from friends, and 5) family to prevent being overweight, and activities that support the prevention of overweight. The experimental group had significantly (p<0.05) higher mean scores of overweight prevention behavior than before intervention and the control group. We recommended to expand the implementation of the model to cover more target groups. Additionally, the model can be applied in other areas where appropriate, considering the similarities in demographics and lifestyle patterns.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้เป็นการวิจัยผสมผสาน (Mixed Method) โดยมีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในเขตเศษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา การศึกษาครั้งนี้แบ่งเป็น 3 ระยะ 1) ศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่มีผลต่อการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา 2) เพื่อพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา และ 3 ) เพื่อประเมินประสิทธิผลรูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทรา ผลการวิจัยรูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น ประกอบด้วย 5 องค์ประกอบหลัก คือ 1) ความรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมการบริโภคอาหารและการออกกำลังกาย 2) นิสัยการรับประทานอาหารและการออกกำลังกาย 3) การจัดการรายได้ของนักเรียน 4) การสนับสนุนจากเพื่อนและครอบครัวในการป้องกันภาวะน้ำหนักเกิน และ 5) กิจกรรมที่สนับสนุนให้มีการป้องกันภาวะน้ำหนักเกิน เมื่อนำรูปแบบไปทดลองใช้ พบว่า กลุ่มทดลองมีค่าเฉลี่ยพฤติกรรมการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นสูงกว่าก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นที่พัฒนาขึ้นสามารถเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้นได้ จึงควรนำไปใช้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น รวมทั้งประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่น ๆ ตามความเหมาะสมต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินth
dc.subjectเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษth
dc.subjectการมีส่วนร่วมของพหุภาคีth
dc.subjectOverweight Preventionen
dc.subjectTHE Eastern Economic Corridoren
dc.subjectMultilateral participationen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.subject.classificationPublic administration and defence; compulsory social securityen
dc.titleการพัฒนารูปแบบการป้องกันภาวะน้ำหนักเกินในนักเรียนมัธยมศึกษาตอนต้น โดยการมีส่วนร่วมของพหุภาคีในเขตระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ ภาคตะวันออก จังหวัดฉะเชิงเทราth
dc.titleDVELOPMENT OF A MODEL FOR OVERWEIGHT PREVENTION AMONG JUNIOR HIGH SCHOOL BY MULTILATERAL PARTICIPATION IN THE EASTERN ECONOMIC CORRIDOR CHACHOENGSAOen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
dc.contributor.coadvisorArchin Songthapen
dc.contributor.coadvisorอาจินต์ สงทับth
dc.contributor.emailadvisorarchins@nu.ac.then_US
dc.contributor.emailcoadvisorarchins@nu.ac.then_US
dc.description.degreenameDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.description.degreenameสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.degreelevelDoctoral Degreeen
dc.description.degreelevelปริญญาเอกth
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SupraneeJoyrod.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.