Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5607
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Seubtrakul Tantalanukul | en |
dc.contributor | สืบตระกูล ตันตลานุกุล | th |
dc.contributor.advisor | Pramote Wongsawat | en |
dc.contributor.advisor | ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-07-07T02:55:39Z | - |
dc.date.available | 2023-07-07T02:55:39Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5607 | - |
dc.description.abstract | This advanced mixed method study aimed to investigate the effect of model of stress reduction among nursing students in Northern nursing colleges belong to Ministry of Public Health. This study was conducted in 3 steps regarding research methodology as follow: 1) examination the factors associated with stress in nursing students 2) developing and validity testing the stress reduction model for nursing students 3) examine the effective of nursing students’ stress reduction model. The results demonstrated that the nursing students’ stress reduction model consisted of 7 components as follows: attitude toward the nursing profession & self-esteem, life skills development, stress management, stress screening, curriculum management, educational resource management and extracurricular activity. A model showed acceptable quality is according to criteria in reasonable, usefulness, possibility and accuracy at the highest level for validity in pilot study. The results also indicated that the stress reduction model was effective in significantly decreasing level of stress among nursing students (p < 0.001). Results from this study provide evidence that the nursing students’ stress reduction model is highly feasible, and support further testing to examine the effect of the intervention in improving stress management in nursing students. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยเชิงผสมผสานแบบหลายขั้นตอนครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนารูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ แบ่งระยะการวิจัยออกเป็น 3 ระยะตามกระบวนการวิจัย ได้แก่ 1) ศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความเครียดในนักศึกษาพยาบาล 2) การสร้างและตรวจสอบรูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล และ 3) ศึกษาประสิทธิผลของรูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล ประกอบด้วย 7 องค์ประกอบหลัก ได้แก่ การสร้างเจตคติต่อวิชาชีพและการรับรู้คุณค่าในตัวเอง การพัฒนาทักษะชีวิต การจัดการความเครียด การคัดกรองความเครียด การจัดการหลักสูตร การจัดการทรัพยากรทางการศึกษา และการจัดกิจกรรมเสริมหลักสูตร ซึ่งมีคุณภาพเป็นที่ยอมรับได้ตามเกณฑ์ด้านความเหมาะสม ความเป็นประโยชน์ ความเป็นไปได้ และความถูกต้องครอบคลุมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อนำรูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาลไปทดลองใช้ พบว่า ภายหลังการทดลองค่าเฉลี่ยความเครียดของนักศึกษาพยาบาลหลังการทดลองต่ำกว่าก่อนการทดลอง และต่ำกว่ากลุ่มควบคุม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 แสดงให้เห็นว่ารูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาลสังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือที่พัฒนาขึ้นสามารถลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาลได้ จึงควรนำไปใช้ให้ครอบคลุมกลุ่มเป้าหมายมากยิ่งขึ้น รวมทั้งนำไปประยุกต์ใช้ในพื้นที่อื่นๆ ตามความเหมาะสมต่อไป | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | รูปแบบการลดความเครียด | th |
dc.subject | นักศึกษาพยาบาล | th |
dc.subject | วิทยาลัยพยาบาล | th |
dc.subject | Model of stress reduction | en |
dc.subject | Nursing students | en |
dc.subject | Nursing colleges | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Human health and social work activities | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | รูปแบบการลดความเครียดในนักศึกษาพยาบาล วิทยาลัยพยาบาล สังกัดกระทรวงสาธารณสุข เขตภาคเหนือ | th |
dc.title | MODEL OF STRESS REDUCTION FOR NURSING STUDENTS IN NORTHERN-REGION NURSING COLLEGES BY MINISTRY OF PUBLIC HEALTH | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Pramote Wongsawat | en |
dc.contributor.coadvisor | ปราโมทย์ วงศ์สวัสดิ์ | th |
dc.contributor.emailadvisor | pramotew@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | pramotew@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Doctor of Public Health (Dr.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.) | th |
dc.description.degreelevel | Doctoral Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาเอก | th |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
SeubtrakulTantalanukul.pdf | 2.53 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.