Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5605
Title: การสร้างโปรแกรมจำลองการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจ 
Construction of electrophysiological study simulator program (EPSSIM) 
Authors: Sujitra Katekarn
สุจิตรา เกตุกาญจน์
Teonchit Nuamchit
เตือนจิตร น่วมจิตร
Naresuan University
Teonchit Nuamchit
เตือนจิตร น่วมจิตร
teonchitn@nu.ac.th
teonchitn@nu.ac.th
Keywords: คลื่นไฟฟ้าหัวใจ
การตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจ
สื่อการเรียนรู้
Electrocardiogram
Electrophysiology study
E-learning
Issue Date: 2565
Publisher: Naresuan University
Abstract: A cardiac arrhythmia is characterized by an abnormal heartbeat rhythm. Arrhythmia mechanisms include abnormal impulse formation, conduction disruptions, and reentrant activity. Arrhythmia is diagnosed using an electrocardiogram (ECG) or an invasive electrophysiology study (EPS) for effective treatment. EPS procedure is performed by a team of experts including a cardiac electrophysiologist, nurses, and a specialist EP technician who is knowledgeable about ECG, EPS, and ablation treatment. While e-learning and internet-based education have been developed to enhance the acquisition of knowledge and skills, there is currently no e-learning program that offers a combination of pathological ECG, EPS, cardiac ablation, and ECG and intracardiac electrophysiology simulator.  Therefore, this study was to create the electrophysiology study simulator program (EPSSIM), as an e-learning platform for EP studies and ECG, and evaluate its effectiveness and satisfaction. 47 cardiothoracic technology students used the program and completed the pre-post test and questionnaires. The study revealed that the EPSSIM significantly improved participants' knowledge scores (8.38±2.73 vs 10.77±1.93, p<0.05) and satisfied 80% of users, suggesting that the program could be used effectively to enhance users' knowledge. 
โรคหัวใจเต้นผิดจังหวะ คือโรคที่มีอัตราการเต้นของหัวใจผิดปกติหรือเต้นด้วยจังหวะไม่สม่ำเสมอ โดยมีสาเหตุมาจากในการสร้างสัญญาณไฟฟ้า ความผิดปกติในการนำสัญญาณ และการหมุนวนของสัญญาณ สามารถวินิจฉัยด้วยคลื่นไฟฟ้าหัวใจ หรือร่วมกับการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจร่วมด้วย เพื่อหาวงจรที่นำสัญญาณไฟฟ้าผิดปกติและเพื่อทำการรักษา โดยหัตถการนี้ ต้องกระทำภายใต้การดูแลจากแพทย์และบุคลากรทางการแพทย์ที่เชี่ยวชาญ ดังนั้นจึงจำเป็นที่ต้องมีความรู้ด้านคลื่นไฟฟ้าหัวใจและการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจ ปัจจุบันมีสื่อการเรียนรู้คลื่นไฟฟ้าหัวใจและการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าหัวใจ อย่างไรก็ตามยังไม่มีสื่อการเรียนรู้ ที่รวมเนื้อหาคลื่นไฟฟ้าหัวใจในโรคหัวใจเต้นผิดจังหวะจากภาวะต่างๆ การตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าและการรักษาด้วยวิธีการจี้ รวมถึงแบบจำลองแสดงสัญญาณเลียนแบบคลื่นไฟฟ้าหัวใจและสัญญาณไฟฟ้าภายในห้องหัวใจ  ดังนั้นจุดประสงค์ของการวิจัยนี้คือ สร้างโปรแกรมจำลองการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจ เพื่อใช้เป็นสื่อการเรียนรู้ด้านการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจและคลื่นไฟฟ้าไฟฟ้าหัวใจ รวมถึงประเมินประสิทธิผลจากแบบทดสอบก่อน-หลังใช้โปรแกรม ประสิทธิภาพและการรับรู้ประโยชน์ที่เกิดจากการใช้โปรแกรม ในผู้เข้าร่วมวิจัยจำนวน 47 คน พบว่า หลังใช้โปรแกรมมีคะแนนสูงกว่าก่อนใช้โปรแกรมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (8.38±2.73 เทียบกับ 10.77±1.93, p<0.05) และมีความพึงพอใจมากกว่าร้อยละ 80 เห็นว่าโปรแกรมจำลองการตรวจสรีรวิทยาไฟฟ้าของหัวใจมีประสิทธิภาพและมีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ 
URI: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5605
Appears in Collections:คณะสหเวชศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
SujitraKatekarn.pdf11.82 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.