Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5560
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | Rattanapron Aeimprome | en |
dc.contributor | รัตนาภรณ์ เอี่ยมพรม | th |
dc.contributor.advisor | Supaporn Sudnongbua | en |
dc.contributor.advisor | สุภาภรณ์ สุดหนองบัว | th |
dc.contributor.other | Naresuan University | en |
dc.date.accessioned | 2023-06-01T02:14:10Z | - |
dc.date.available | 2023-06-01T02:14:10Z | - |
dc.date.created | 2565 | en_US |
dc.date.issued | 2565 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5560 | - |
dc.description.abstract | This study was quasi-experimental research in community. An objective of this study was to investigate the effectiveness of motivation program for disease prevention among elderly people with risk of stroke in Sukhothai province. Samples were elderly people who were at risk with stroke and divided into two groups: Experimental group and Control group. The samples consisted of 26 in each group. The experimental group was provided the motivation program for disease prevention for 12 weeks, whereas the control group was not provided the program. The research tools were 1) motivation program for disease prevention 2) disease prevention manual 3) A questionnaire about health behavior of elderly people with risk of stroke. Index of concurrence was 0.94 and reliability was 0.83. Descriptive statistics analysis and inferential statistical analysis, including Wilcoxon Signed Rank Test and Mann-Whitney U Test were set statistical significance at 0.05 level. The results of the study revealed that after experiment, the experimental group had higher mean score of severity perception of stroke, chance perception of stroke, perception of stroke self-efficacy expectations for stroke prevention behaviors, and expectation of good outcomes for stroke prevention behaviors and stroke prevention behaviors than those who were in the control group (p<0.001). These results presented that the program was effective for behavior prevention towards risk of stroke among elderly people in Sukhothai province. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยนี้เป็นการวิจัยกึ่งทดลองในชุมชน มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันโรคในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในจังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่าง แบ่งออกเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มทดลอง และกลุ่มควบคุม ซึ่งเป็นผู้สูงอายุที่มีความเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ทั้ง 2 กลุ่ม แบ่งเป็นกลุ่มละ 26 คน โดยกลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันโรคระยะเวลา 12 สัปดาห์ ขณะที่กลุ่มควบคุมไม่ได้รับโปรแกรม เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันโรค 2) คู่มือการป้องกันโรค 3) แบบสอบถามพฤติกรรมสุขภาพของผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมอง ซึ่งแบบสอบถามมีค่าความตรงของเนื้อหา 0.94 และค่าความเที่ยง 0.83 วิเคราะห์สถิติเชิงพรรณนา และวิเคราะห์สถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Wilcoxon Signed Rank Test และ Mann-Whitney U Test กำหนดค่านัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า ภายหลังการทดลองกลุ่มทดลองมีค่าคะแนนเฉลี่ยของการรับรู้ความรุนแรงของการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง การรับรู้โอกาสเสี่ยงต่อการเกิดโรคหลอดเลือดสมอง ความคาดหวังในความสามารถตนเองต่อการมีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ความคาดหวังในผลดีของพฤติกรรมป้องกันโรคหลอดเลือดสมองและพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองสูงกว่า ก่อนการทดลอง และสูงกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p<0.001) ซึ่งผลการศึกษาแสดงให้เห็นว่าโปรแกรมนี้มีประสิทธิภาพในการป้องกันโรคในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในจังหวัดสุโขทัย | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | ผู้สูงอายุ | th |
dc.subject | โรคหลอดเลือดสมอง | th |
dc.subject | แรงจูงใจ | th |
dc.subject | พฤติกรรมการป้องกันโรค | th |
dc.subject | Elderly people | en |
dc.subject | Stroke | en |
dc.subject | Motivation | en |
dc.subject | Preventive behavior | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.subject.classification | Education | en |
dc.subject.classification | Nursing and caring | en |
dc.title | ประสิทธิผลของโปรแกรมเสริมสร้างแรงจูงใจในการป้องกันโรคในผู้สูงอายุกลุ่มเสี่ยงโรคหลอดเลือดสมองในจังหวัดสุโขทัย | th |
dc.title | The effectiveness of motivation program for disease prevention among elderly people with risk of stroke in Sukhothai province | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
dc.contributor.coadvisor | Supaporn Sudnongbua | en |
dc.contributor.coadvisor | สุภาภรณ์ สุดหนองบัว | th |
dc.contributor.emailadvisor | supapornsud@nu.ac.th | en_US |
dc.contributor.emailcoadvisor | supapornsud@nu.ac.th | en_US |
dc.description.degreename | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description.degreename | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.degreelevel | Master's Degree | en |
dc.description.degreelevel | ปริญญาโท | th |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
RattanapronAeimprome.pdf | 3.14 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.