Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5188
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | TEERAPHAN NARA-KAEW | en |
dc.contributor | ธีรพันธ์ นราแก้ว | th |
dc.contributor.advisor | Mayurach Pipatphatsakorn | en |
dc.contributor.advisor | มยุรัชฎ์ พิพัฒภาสกร | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Dentistry | en |
dc.date.accessioned | 2023-03-08T02:19:53Z | - |
dc.date.available | 2023-03-08T02:19:53Z | - |
dc.date.issued | 2564 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5188 | - |
dc.description | Master of Science (M.S.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The study aimed to evaluate the thickness of the acid-base resistant zone (ABRZ) and nanoleakage of four different adhesives. For specimen preparation, forty extracted human molars were sliced to remove enamel and to be a piece of 1-mm dentin disc. Then all discs were randomly assigned into four groups, according to the four different dentin bonded conditions with either Clearfil SE bond (SE), Clearfil Tri-s universal (S3), Single bond universal (SU), or Single bond2 (TE) (n= 10). After building up resin composite (Filtek Z350) restoration on top, four assays were performed. Those assays were 1. finding ABRZ by acid-base challenge, 2. nanoleakage test after 24 hours of submerging in water, 3. nanoleakage test after 5000 cycles of thermocycling, and 4. nanoleakage test after 8 days of pH cycling. The prepared samples were sectioned vertically and polished to expose the bonding interface between the dentin and the adhesive, which then be examined under a scanning electron microscopy (SEM) (JSM-5310LV, JEOL, Tokyo, Japan). The average layer thickness of ABRZ for each group was measure using ImageJ. All data were statistically analyzed using one-way ANOVA and Tukey’s test (α = 0.05). The thickness of ABRZ (0.90±0.49 μm) obtained in the SE group was statistically significant highest (p < 0.05). For nanoleakage tests, no significant difference was found in 24 hours of submerging in water assay and 5000 cycles of thermocycling assay. While TE group after 8 days of pH cycling showed the significantly highest value (241.05±39.25 μm). Different type of adhesive has an influence on thickness of ABRZ and nanoleakage after pH cycling. | en |
dc.description.abstract | วัตถุประสงค์ของการวิจัยเพื่อศึกษาความกว้างของพื้นที่ต้านทานกรด-ด่าง และ การรั่วซึมระดับนาโนจากการใช้สารยึดติดที่แตกต่างกัน โดยใช้ฟันกราม 40 ซี่ มาตัดทำชิ้นเนื้อฟันหนา 1 มิลลิเมตร จากนั้นแบ่งเป็น 4 กลุ่มๆละ 10 ซี่ ทาด้วยสารยึดติดที่แตกต่างกันคือ เคลียร์ฟิลเอสอี บอนด์ เคลียร์ฟิลไตรเอส ยูนิเวอร์แซล ซิงเกิลบอนด์ ยูนิเวอร์แซล และ ซิงเกิลบอนด์ทู หลังจากบูรณะด้วยวัสดุอุดเรซิน คอมโพสิตแล้วจึงนำไปทดสอบที่สภาวะแตกต่างกัน 4 กลุ่ม ได้แก่ 1. หาพื้นที่ต้านทานกรด-ด่าง 2. ทดสอบการรั่วซึมระดับนาโน หลังจากการแช่น้ำ 24 ชม. 3.ทดสอบการรั่วซึมระดับนาโนหลังการทำเทอโมไซคลิง 5000 รอบ 4.ทดสอบการรั่วซึมระดับนาโนหลังจากการแช่สารละลายกรดและด่าง เป็นเวลา 8 วัน จากนั้นตัดชิ้นงานในแนวตั้งแล้วขัดด้วยกระดาษทราย ส่องดูที่บริเวณรอยต่อของสารยึดติดและเนื้อฟันด้วยเครื่องจุลทรรศอิเล็กตรอนชนิดส่องกราด คำนวนความกว้างของพื้นที่ต้านทานกรด-ด่างและความลึกของการเกิดการรั่วซึมระดับนาโนด้วยโปรแกรมอิมเมจเจ วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบทางเดียวและใช้การทดสอบเอชเอสดี ของทูกีย์เพื่อหาคู่ของข้อมูลที่แตกต่างที่ระดับความเชื่อมั่นร้อยละ 95 พบว่า เคลียร์ฟิลเอสอี บอนด์ เกิดพื้นที่ต้านทานกรด-ด่างมากที่สุด (0.90±0.49 ไมโครเมตร) ซึ่งมีค่าแตกต่างจากกลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ การทดสอบระดับการเกิดการรั่วซึมระดับนาโนไม่พบความแตกต่างอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มทดลองที่แช่น้ำ 24 ชม. และกลุ่มที่ผ่านกระบวนการเทอโมไซคลิง 5000 รอบ แต่พบว่ากลุ่มซิงเกิลบอนด์ทู เมื่อผ่านกระบวนการแช่สารละลายกรด-ด่างเกิดการรั่วซึมระดับนาโนมากกว่ากลุ่มอื่นๆ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (241.05±39.25 ไมโครเมตร) จากผลการทดลองพบว่าชนิดของสารยึดติดส่งผลต่อการเกิดพื้นที่ต้านทานกรด-ด่างและการรั่วซึมระดับนาโนหลังการแช่สารละลายกรดและด่าง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | พื้นที่ต้านทานกรด-ด่าง | th |
dc.subject | สารยึดติดระบบเซลฟ์เอทซ์ | th |
dc.subject | การรั่วซึมระดับนาโน | th |
dc.subject | สารยึดติดที่มีส่วนประกอบของเอ็มดีพี | th |
dc.subject | การทดสอบสภาวะกรด-ด่าง | th |
dc.subject | Acid-base resistant zone | en |
dc.subject | Self etch adhesive | en |
dc.subject | Nanoleakage | en |
dc.subject | MDP containing adhesive | en |
dc.subject | Acid-base challenge | en |
dc.subject.classification | Dentistry | en |
dc.title | การเปรียบเทียบการเกิดการรั่วซึมระดับนาโน และ ลักษณะของพื้นที่ต้านทานกรด-ด่างที่รอยต่อของสารยึดติดกับชั้นเนื้อฟันระหว่างสารยึดติดที่แตกต่างกัน | th |
dc.title | Comparison of nanoleakage and the characterization of the acid-base resistant zone at the adhesive-dentin interface between the different adhesives. | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะทันตแพทยศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
TeeraphanNara-kaew.pdf | 2.69 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.