Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5181
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorAtchariya Malaimarten
dc.contributorอัจฉริยา มาลัยมาตย์th
dc.contributor.advisorWutthichai Jariyaen
dc.contributor.advisorวุฒิชัย จริยาth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:45Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:45Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5181-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi-experimental research aimed to evaluate the effect of health literacy program on food consumtion behaviors at risk of deverloping dental caries among sixth grade students of school in the responsible area, Mae Lei sub-district, Mae Wong District, Nakhon Swan Province. The purposive sampling of 60 students were divided into an experimental group and control group, each group composed of 30 students. The effect of health literacy program on food consumtion behaviors at risk of deverloping dental caries had been implemented in the experimental group for 8 weeks. Data were collected by questionnaries. Statistics utilized for data analysis were descriptive statistics (mean, percentage and standard deviation) and inferential statistics (Chi-Square test, Fisher’s exact test, Paired t-test, Independent t-test)         The results showed that the mean score of food consumtion behaviors at risk of deverloping dental caries and health literacy in the experimental group was higher than before receiving the program and higher than that the control group was statistically significaint level 0.05en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง (Quasi – Experimental Research) เพื่อศึกษาผลของผลของโปรแกรมความฉลาดทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงกับการเกิดโรคฟันผุในนักเรียนประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในเขตรับผิดชอบตำบลแม่เล่ย์ อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์ ประชากรที่ใช้ในการศึกษาคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ในโรงเรียนที่อยู่ในเขตรับผิดชอบตำบลแม่เล่ย์ อำเภอแม่วงก์  จังหวัดนครสวรรค์  จำนวน 12 โรงเรียน กลุ่มตัวอย่างคือ นักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 จำนวน 60 คน  คัดเลือกโดยใช้วิธีการสุ่มแบบเฉพาะเจาะจง (Purposive Sampling) แบ่งเป็นกลุ่มทดลอง 60 คน กลุ่มเปรียบเทียบ 30 คน ใช้ระยะเวลาในการดำเนินโปรแกรมทั้งหมด 8 สัปดาห์ โดยกลุ่มทดลองจะได้รับโปรแกรมความฉลาดทางสุขภาพ เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ หาค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน สถิติเชิงวิเคราะห์ได้แก่ Chi-Square test, Fisher’s exact test, Paired t-test  และ  Independent t-test           ผลการวิจัยพบว่า  ค่าคะแนนเฉลี่ยพฤติกรรมกาบริโภคอาหารที่เสี่ยงกับการเกิดโรคฟันผุและความฉลาดทางสุขภาพมีค่าคะแนนเฉลี่ยสูงกว่าก่อนได้รับโปรแกรมและสูงกว่าก่อนเปรียบเทียบ  อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ  0.05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความฉลาดทางสุขภาพ, พฤติกรรมการบริโภคอาหาร, โรคฟันผุth
dc.subjectHealth literacyen
dc.subjectFood consumptionen
dc.subjectDental cariesen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleผลของโปรแกรมความฉลาดทางสุขภาพต่อพฤติกรรมการบริโภคอาหารที่เสี่ยงกับการเกิดโรคฟันผุในนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 6 ของโรงเรียนในเขตรับผิดชอบ ตำบลแม่เล่ย์ อำเภอแม่วงก์ จังหวัดนครสวรรค์th
dc.titleThe effect of health literacy program on food consumption behaviors at risk of developing dental caries among sixth grade students of school in the responsible area of Mae Lei Sub-district, Mae Wong district, Nakhon Sawan provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63063026.pdf1.66 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.