Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5180
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorUNNAPORN PHACHAROENen
dc.contributorอรรณพร ผาเจริญth
dc.contributor.advisorPattama Suphunnakulen
dc.contributor.advisorปัทมา สุพรรณกุลth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:45Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:45Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5180-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe main objective of predictive research was to study factors predicting oral health care behavior among the pre-aged population (aged 50-59 years) in Mueang District Uttaradit Province. Data were collected with 200 questionnaires and analyzed with descriptive statistics as a percentage, frequency, mean, maximum, and minimum, and inference statistics such as Multiple Linear Regression (stepwise) for hypothesis testing at a significant level of 0.05. The results revealed that 67.0 percent of the participants had oral health care literacy at a sufficient level, followed by 17.0 percent with health literacy at a high enough level and 16.0 percent with health literacy at a not enough, respectively. 65.5 percent of them received support in terms of encouragement, advice, knowledge, assistance, and motivation for oral health care from health workers at a height level, followed by family at 55.5 percent, and village health volunteers (VHV) at 43.5 percent, respectively. 53.5 percent of friend support found that received at a moderate level. Most of the 89.5 percent of the sample had oral health care behaviors at a low level, followed by 8.0 percent at a high level. The results of the analysis found that media literacy was the strongest predictor of oral health care behavior (Beta = 0.291, p-value = 0.001), followed by health workers support (Beta = 0.238, p -value = 0.011), village health volunteers support (Beta = 0.171, p -value = 0.016) with a significant level of 0.05 respectively. Three factors can predict oral health care behavior among the pre-aged population at 21.0 percenten
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์หลักเพื่อศึกษาอำนาจการพยากรณ์ของปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของประชากรก่อนสูงวัย (อายุ 50-59 ปี) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์ รวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามจากกลุ่มตัวอย่าง 200 คน วิเคราะห์ข้อมูลด้วยใช้สถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ค่าร้อยละ ความถี่ ค่าสูงสุด และค่าต่ำสุด และสถิติเชิงอนุมาน ได้แก่ Multiple Linear Regression แบบ Stepwise กำหนดค่านัยสำคัญที่ระดับ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ เป็นผู้ที่มีความรอบรู้ระดับเพียงพอ ร้อยละ 67.0 รองลงมาเป็นผู้มีความรอบรู้มากเพียงพอ ร้อยละ 17.0 และความรอบรู้ยังไม่เพียงพอ ร้อยละ 16.0 กลุ่มตัวอย่างได้รับการสนับสนุนด้านกำลังใจ คำแนะนำ ความรู้ การช่วยเหลือดูแล และแรงกระตุ้นในการดูแลสุขภาพช่องปาก มากที่สุดจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข ร้อยละ 65.5 รองลงมา ได้แก่ ครอบครัว ร้อยละ 55.5 และอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) ร้อยละ 43.5 ตามลำดับ สำหรับแรงสนับสนุนที่ได้รับจากเพื่อน พบว่าได้รับแรงสนับสนุนในระดับปานกลาง ร้อยละ 53.5 ในกลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก อยู่ในระดับพอใช้ ร้อยละ 89.5 รองลงมา ได้แก่ ระดับดี ร้อยละ 8.0 ปัจจัยร่วมทำนายพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของกลุ่มตัวอย่างที่มีอำนาจการพยากรณ์สูงที่สุด ได้แก่ ความรอบรู้สุขภาพช่องปาก ด้านการรู้เท่าทันสื่อเพื่อการดูแลสุขภาพช่องปาก (Beta = 0.291, p-value = 0.001) รองลงมา ได้แก่ แรงสนับสนุนทางสังคมที่ได้รับจากเจ้าหน้าที่สาธารณสุข (Beta = 0.238, p -value = 0.011) และแรงสนับสนุนทางสังคมที่ได้รับ จาก อสม. (Beta = 0.171, p -value = 0.016) ตามลำดับ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ตัวแปรทั้ง 3 ตัวมีอำนาจ ในการพยากรณ์พฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากของประชากรก่อนสูงวัย ได้ร้อยละ 21.0th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความรอบรู้สุขภาพช่องปากth
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมth
dc.subjectพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปากth
dc.subjectOral health literacyen
dc.subjectSocial supporten
dc.subjectOral Health Care Behaviorsen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อพฤติกรรมการดูแลสุขภาพช่องปาก ของประชากรก่อนสูงวัย(50 -59 ปี) ในเขตอำเภอเมือง จังหวัดอุตรดิตถ์th
dc.titleFactors Influencing Oral Health Care Behaviors among the Pre-Aging (50-59 years) in Muang District, Uttaradit Province.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63063019.pdf2.85 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.