Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5176
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNatthaphon Phoonwichianen
dc.contributorณัฐพล พูลวิเชียรth
dc.contributor.advisorWutthichai Jariyaen
dc.contributor.advisorวุฒิชัย จริยาth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:43Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:43Z-
dc.date.issued2565en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5176-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis quasi-experimental research with two group repeated measures design aimed to study the effect of resilience enhancing on job burnout program among village health volunteers. Total of 68 samples were village health volunteer with burnout and had lived in Noen-maprang District and Wangthong District, Phitsanulok Province. The samples were divided into two groups, 34 subjects of experimental group and 34 subjects of control group. During the period of twelve weeks intervention, the experimental group received resilience enhancing on job burnout program among village health volunteers while control group received normal psychoeducation. Resilience enhancing program comprised of activities; discovering reality, critical reflection, taking charge and holding on. Research instruments were the resilience quotient screening questionnaires Thai version and the Maslach burnout inventory (MBI) questionnaires Thai version. The Cronbach’ alpha coefficients of such two questionnaires were .744 and .910 respectively. The data were analyzed by percentage, mean, standard deviation, independent samples t-test, repeated measure ANOVA and tested the difference in pairs with the Bonferroni method.       The results revealed that: 1. After intervention and a follow-up period of 3 months, experimental group had a significantly higher mean score of resilience quotient than before the intervention (P-value < .05) 2. A follow-up period of 3 months, experimental group had a significantly higher mean score of resilience quotient than control group (P-value < .05) 3. After intervention and a follow-up period of 3 months, experimental group had a significantly lower mean score of Maslach burnout inventory (MBI) than before the intervention (P-value < .05) 4. After intervention and a follow-up period of 3 months, experimental group had a significantly lower mean score of Maslach burnout inventory (MBI) than control group (P-value < .05)   Resilience enhancing program on job burnout among village health volunteers could be helpful in increasing resilience quotient and assistant in reducing job burnout among village health volunteers. Such program could be applied into an activity for empowering and prevent burnout on the job of other village health volunteers.en
dc.description.abstractการวิจัยครั้งนี้ เป็นการวิจัยกึ่งทดลองแบบสองกลุ่มวัดซ้ำ การทดลองครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน กลุ่มตัวอย่าง 68 คน เป็นอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านที่มีภาวะหมดไฟในการทำงาน อาศัยอยู่ในอำเภอเนินมะปรางและอำเภอวังทอง จังหวัดพิษณุโลก แบ่งเป็น 2 กลุ่ม กลุ่มทดลอง 34 คน และกลุ่มควบคุม 34 คน โดยกลุ่มควบคุมได้รับสุขภาพจิตศึกษาตามปกติ กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ติดต่อกันเป็นเวลา 12 สัปดาห์ ซึ่งประกอบด้วยกิจกรรมการค้นพบสถานการณ์จริง การสะท้อนคิดอย่างมีวิจารณญาณ การจัดการกับสถานการณ์ และการคงไว้ซึ่งพลังสุขภาพจิต เครื่องมือที่ใช้ในการรวบรวมข้อมูล ประกอบด้วย แบบสอบถามพลังสุขภาพจิตและแบบสอบถามภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน มีค่าความเที่ยงคำนวณจากสูตรสัมประสิทธิ์แอลฟาครอนบาคเท่ากับ .744 และ .910 ตามลำดับ วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณา ประกอบด้วย ความถี่ ค่าเฉลี่ย ร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ทดสอบความแตกต่างใช้ Independent samples t-test และ Repeated measure ANOVA และทดสอบความแตกต่างรายคู่ด้วย Bonferroni method       ผลการวิจัยพบว่า 1. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพลังสุขภาพจิตหลังการทดลองและระยะติดตาม 3 เดือน มากกว่าก่อนการทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 2. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยพลังสุขภาพจิตในระยะติดตาม 3 เดือน มากกว่า กลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 3. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน หลังการทดลอง และระยะติดตาม 3 เดือน ต่ำกว่าก่อนการทดลอง อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติระดับ .05 4. กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านหลังการทดลองและระยะติดตาม 3 เดือน ต่ำกว่ากลุ่มควบคุมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .05 ผลการวิจัยครั้งนี้แสดงให้เห็นว่าโปรแกรมการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านสามารถช่วยเพิ่มพลังสุขภาพจิต และลดภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ดังนั้น สามารถนำไปประยุกต์ใช้ในการจัดกิจกรรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตและป้องกันภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านอื่นๆต่อไปได้th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth
dc.subjectภาวะหมดไฟในการทำงานth
dc.subjectพลังสุขภาพจิตth
dc.subjectโปรแกรมเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตth
dc.subjectVillage Health Volunteersen
dc.subjectJob Burnouten
dc.subjectResilience Quotienten
dc.subjectResilience enhancing programen
dc.subject.classificationPsychologyen
dc.titleผลของโปรแกรมการเสริมสร้างพลังสุขภาพจิตต่อภาวะหมดไฟในการทำงานของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleTHE EFFECT OF RESILIENCE QUOTIENT ON JOB BURNOUT AMONG VILLAGE HEALTH VOLUNTEERS IN PHITSANULOK PROVINCEen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
63061732.pdf4.09 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.