Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5167
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSUCHADA THONGCHAIen
dc.contributorสุชาดา ธงชายth
dc.contributor.advisorSupaporn Sudnongbuaen
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ สุดหนองบัวth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:41Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:41Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5167-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis predictive research aimed 1) to study levels of health literacy in stroke prevention among elderly people with hypertension and 2) to investigate factors affecting knowledge on health literacy in stroke prevention among elderly people with hypertension in Nakhon Sawan Province. Four hundred and ten samples were selected randomly by systematic sampling and they were elderly people (60 years old and over) being ill with high blood pressure in Nakhon Sawan Province. Data were collected during February - March 2021. Research tool was a questionnaire with reliability value between 0.84-0.94. The data were analyzed by frequency distribution, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple linear regression at a level of statistical significance of 0.05. Results of the study revealed that 63.4% of samples was female. They ranged in age from 60-69 with a mean age of 69.97. They ranged BMI from 18.50-22.99 kg/m2 with a mean BMI of 33.2. The vast majority (81%) graduated elementary school. Most of them (66.6%) got married and lived in rural area (83.1%). Most of them (69.5%) had hypertension over 5 years. Of those, 61.4% had no complications. The vast majority (72.9%) received health information in more than two channels. Their health literacy in stroke prevention was at a fair level (x̄ =76.57, SD=14.11). Factors affecting knowledge on health literacy in stroke prevention among elderly people with hypertension were self-awareness (p-value<0.001, β=0.213), living in an urban area (p-value<0.001, β=-0.273), level of ability to carry out daily activities (p-value<0.001, β=0.189), education level on secondary school and over (p-value<0.001, β=0.150), body mass index (p-value=0.005, β=0.124), age (p-value=0.006, β=-0.227), and obtaining more than one source of health information (p-value=0.007, β=0.115) respectively. Twenty eight percent of these factors could predict knowledge on health literacy in stroke prevention among elderly people with hypertension in Nakhon Sawan Province (R square = 0.296, Adjusted R2 = 0.284). With respect to recommendation, health care sectors should employ these predicting factors to develop health literacy among elderly people with hypertension for stroke prevention in the long run.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงทำนายนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาระดับความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูง และ2) ศึกษาปัจจัยที่มีอำนาจการทำนายต่อความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในจังหวัดนครสวรรค์ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้สูงอายุ (60 ปีขึ้นไป) ที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง ในเขตจังหวัดนครสวรรค์ จำนวน 410 คน  สุ่มตัวอย่างแบบเชิงระบบ เก็บข้อมูลในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ - มีนาคม 2564 เครื่องมือเป็นแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่นระหว่าง 0.84-0.94 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการถดถอยเชิงเส้นพหุคูณแบบขั้นตอน ที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05 ผลการศึกษา พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงร้อยละ 63.4 มีอายุระหว่าง 60-69 ปี (x̄ = 69.97) ค่าดัชนีมวลกายอยู่ระหว่าง 18.50-22.99 กิโลกรัม/ตารางเมตร ร้อยละ 24.6 (x̄ = 33.2) จบการศึกษาระดับประถมศึกษาร้อยละ 81.0 สถานภาพส่วนใหญ่มีคู่สมรสร้อยละ 66.6 เขตที่อยู่อาศัยส่วนใหญ่อยู่ในพื้นที่ชนบทร้อยละ 83.1 ระยะเวลาการป่วยเป็นโรคความดันโลหิตสูงมากกว่า 5 ปี ร้อยละ 69.5 (x̄ = 9.83) ไม่มีภาวะแทรกซ้อนร้อยละ 61.4 ช่องทางการรับข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพส่วนใหญ่ได้รับมากกว่า 2 ช่องทาง ร้อยละ 72.9 กลุ่มตัวอย่างมีความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองโดยรวมอยู่ในระดับพอใช้ (x̄ = 76.57, S.D.= 14.11) ปัจจัยที่มีอำนาจการทำนายต่อความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในจังหวัดนครสวรรค์ มีทั้งสิ้น 7 ปัจจัย ได้แก่ การตระหนักรู้ในตนเอง (p-value < 0.001, β = 0.213) อาศัยอยู่ในเขตเมือง (p-value < 0.001, β = -0.273) ระดับความสามารถในการประกอบกิจวัตรประจำวัน (p-value < 0.001, β = 0.189) ระดับการศึกษาระดับมัธยมศึกษาขึ้นไป (p-value < 0.001, β = 0.150) ดัชนีมวลกาย (p-value = 0.005, β = 0.124) อายุ (p-value = 0.006, β = -0.227) การรับข้อมูลสุขภาพมากกว่า 1 แหล่ง (p-value = 0.007, β = 0.115) ตามลำดับ ดังนั้นทั้ง 7 ปัจจัยมีอำนาจในการทำนาย 28% (R square = 0.296, Adjusted R2 = 0.284) ข้อเสนอแนะในการวิจัยคือ หน่วยงานด้านสุขภาพควรนำผลปัจจัยทำนายเหล่านี้ไปใช้ในการพิจารณาในการพัฒนาความรอบรู้ทางสุขภาพสำหรับผู้สูงอายุที่ป่วยด้วยโรคความดันโลหิตสูง เพื่อป้องกันการเกิดโรคหลอดเลือดสมองต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองth
dc.subjectผู้สูงอายุth
dc.subjectโรคความดันโลหิตสูงth
dc.subjectแรงสนับสนุนทางสังคมth
dc.subjectการตระหนักรู้ในตนเองth
dc.subjectHealth literacy for stroke preventionen
dc.subjectElderlyen
dc.subjectHypertensionen
dc.subjectSocial supporten
dc.subjectSelf awarenessen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยทำนายความรอบรู้ทางสุขภาพในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้สูงอายุที่มีภาวะความดันโลหิตสูงในจังหวัดนครสวรรค์th
dc.titleFactor predicting health literacy towards preventionof stroke among elderly people with high blood pressurein Nakhon Sawan Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
62061665.pdf1.93 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.