Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5161
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorSIRIYAKORN KANMUDen
dc.contributorสิริยากรณ์ กันหมุดth
dc.contributor.advisorPantip Hinhumpatchen
dc.contributor.advisorพันธ์ทิพย์ หินหุ้มเพ็ชรth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2023-03-02T08:44:39Z-
dc.date.available2023-03-02T08:44:39Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/5161-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe cross-sectional descriptive research aimed to study the level of health risk behaviors and to study factors affecting the health risk behaviors among tangerine farmers in Si Satchanalai District, Sukhothai Province. The sample consisted of representatives of 230 registered tangerine farming households, selected using a simple random sampling technique. The data collection was collected using questionnaires and analyzed using the frequency distribution, percentage, Eta, Pearson correlation, and stepwise multiple regression analysis. The results revealed that the majority of tangerine farming households had high levels of knowledge, perception, and behaviors towards health risk behaviors related to work at 88.70%, 94.30%, and 91.30%, respectively. The significant predictors of health risk behaviors related to work included income (Beta = 0.195), drinking alcohol (Beta = 0.215), enabling factors (Beta = 0.209), smoking (Beta = 0.133) and reinforcing factors (Beta = 0.134), which able to predict approximately 16.90% at p-value less than 0.05). Therefore, related agencies should give priority to health and safety in work as well as raise awareness and change health risk behaviors among tangerine farmers.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพรรณนาภาคตัดขวางนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาระดับพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานของเกษตรกร และศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานของเกษตรกรสวนส้มเขียวหวาน ในอำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัย กลุ่มตัวอย่างประกอบด้วยตัวแทนครัวเรือนเกษตรกรสวนส้มเขียวหวานที่ขึ้นทะเบียนเกษตรกรจำนวน 230 ครัวเรือน คัดเลือกด้วยวิธีการสุ่มอย่างง่าย เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้ด้วยการแจกแจงความถี่ ร้อยละ Eta และ Pearson correlation และสถิติวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบเป็นขั้นตอน ผลการวิจัย พบว่า ครัวเรือนเกษตรกรสวนส้มเขียวหวานส่วนใหญ่มีระดับความรู้และการรับรู้เกี่ยวกับพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานอยู่ในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 88.70 และร้อยละ 94.30 ตามลำดับ  พฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานในระดับสูง คิดเป็นร้อยละ 91.30 เมื่อพิจารณาอำนาจการทำนายพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานได้แก่ รายได้ (Beta = 0.195) การดื่มสุรา (Beta = 0.215) ปัจจัยเอื้อ (Beta = 0.209) การสูบบุหรี่ (Beta = 0.133) และปัจจัยเสริม (Beta = 0.134) สามารถร่วมกันทำนายพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงาน ได้ร้อยละ 16.90 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรให้ความสำคัญกับการดูแลสุขภาพและความเสี่ยงจากการทำงาน รวมทั้งสร้างความตระหนักและปรับเปลี่ยนพฤติกรรมความความเสี่ยงทางสุขภาพจากการทำงานของเกษตรกรสวนส้มth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectเกษตรกรสวนส้มเขียวหวานth
dc.subjectพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานth
dc.subjectเกษตรกรth
dc.subjectTangerine growersen
dc.subjectHealth risk behaviors at worken
dc.subjectFarmersen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมเสี่ยงทางสุขภาพในการทำงานของเกษตรกรสวนส้มเขียวหวาน อำเภอศรีสัชนาลัย จังหวัดสุโขทัยth
dc.titleFactors affecting health risk behaviors of tangerine  farmersSi Satchanalai District Sukhothai Province.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062458.pdf2.35 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.