Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4494
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | BUDSARIN TUNBHIBAL | en |
dc.contributor | บุศรินทร์ ตันภิบาล | th |
dc.contributor.advisor | Patcharaphol Samnieng | en |
dc.contributor.advisor | ภัชรพล สำเนียง | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Dentistry | en |
dc.date.accessioned | 2022-03-16T01:52:19Z | - |
dc.date.available | 2022-03-16T01:52:19Z | - |
dc.date.issued | 2564 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/4494 | - |
dc.description | Master of Science (M.S.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The exacerbation of chronic obstructive pulmonary disease(COPD) is caused by multi-risk factors and seriously affects the elderly patient’s morbidity. This cross-sectional descriptive research aimed to evaluate the associations of oral health status, dry mouth , dysphagia and frequency of exacerbations of chronic obstructive pulmonary disease.Subject:COPD elderly patients recruited from of Maelao hospital, Chiang rai (54 patients) and were divided into the exacerbated (≥1 times) group (29 patients) and non-exacerbated group (25 patients). Methods:Oral health status was measured by plaque index (PI) , bleeding index (BI) , pocket depth (PD) and clinical attachment loss (CAL). Dry mouth was measured by salivary flow rate at resting. Dysphagia was measured by EAT-10 dysphagia screening tool and repetitive saliva swallowing test (RSST). Results: This study did not find any significant association of oral health status and dry mouth between two groups. The study found association of dysphagia in the exacerbated group (mean of EAT-10 score=3.79±4.28) was higher than the non-exacerbated group (mean of EAT-10 score=1.48±2.48)(p=0.042).The mean number of RSST scores in the exacerbated group (3.44 ±1.24 time/30 s) was lower than the non-exacerbated group (4.08 ±0.70 time/30 s) (p=0.002). The mean of body mass index (BMI) in the exacerbated group (18.38 kg/m2) was lower than the non-exacerbated group (22.78 kg/m2) (p=0.022).Conclusions: The risk factors of dysphagia and low BMI were associated with COPD exacerbation. This study suggests that the importance of dysphagia screening can be integrated care program to prevention and management of COPD exacerbation.Comprehensive dental care plan with multidiscliplinary team will improve oral health swallowing problem and nutrition. | en |
dc.description.abstract | อาการกำเริบเฉียบพลันของโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง เป็นภาวะที่ส่งผลต่อการเจ็บป่วยและคุณภาพชีวิตของผู้สูงอายุ เกิดได้จากปัจจัยกระตุ้นหลายสาเหตุ การศึกษานี้เป็นการศึกษาวิจัยเชิงพรรณนาแบบภาคตัดขวาง วัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสภาวะสุขภาพช่องปาก ภาวะปากแห้ง และ การกลืนลำบากในกลุ่มผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่สัมพันธ์กับประวัติอาการกำเริบเฉียบพลันของโรค โดยเลือกกลุ่มตัวอย่างแบบเฉพาะเจาะจงเป็นผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มารับบริการคลินิกโรคเรื้อรังของโรงพยาบาลแม่ลาว จ.เชียงราย จำนวน 54 ราย แบ่งเป็นสองกลุ่มได้แก่ กลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน(25 ราย) และ กลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลันในรอบปี (≥1ครั้ง)(29 ราย) วิธีการศึกษาตรวจสภาวะสุขภาพช่องปากเก็บข้อมูลโดยใช้ดัชนีสภาวะปริทันต์ ได้แก่ คราบจุลินทรีย์(PI) ภาวะเหงือกอักเสบ(BI) ระดับร่องลึกปริทันต์(PD) และการสูญเสียระดับยึดของอวัยวะปริทันต์ทางคลินิค(CAL) ภาวะปากแห้งเก็บข้อมูลโดยการใช้การวัดอัตราการหลั่งน้ำลายขณะพัก ภาวะกลืนลำบากเก็บข้อมูลโดยใช้แบบคัดกรองการกลืน(EAT-10) และ การทดสอบการกลืน(RSST) ผลการศึกษาไม่พบความแตกต่างระหว่างสภาวะปริทันต์และภาวะปากแห้งกับประวัติอาการกำเริบเฉียบพลันระหว่างกลุ่มที่ศึกษา แต่พบว่าความเสี่ยงต่อภาวะกลืนลำบากในกลุ่มที่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน(คะแนน 3.79±4.28) มีค่ามากกว่ากลุ่มที่ไม่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน(คะแนน 1.48±2.48)(p=0.042) จำนวนครั้งของการทดสอบการกลืนด้วยวิธี RSST ในกลุ่มที่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน(3.44±1.24 ครั้ง/30วินาที) น้อยกว่ากลุ่มที่ไม่มีประวัติอาการกำเริบ(4.08±0.70 ครั้ง/30วินาที)(p=0.002) และยังพบว่าค่าดัชนีมวลกายเฉลี่ยของกลุ่มผู้ป่วยที่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน(18.38 กก./ม2) ต่ำกว่ากลุ่มผู้ป่วยที่ไม่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน (22.78 กก./ม2) (p=0.022) สรุปผลการศึกษาครั้งนี้ ภาวะกลืนลำบากสัมพันธ์กับผู้ป่วยสูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังที่มีประวัติอาการกำเริบเฉียบพลัน และ สอดคล้องกับค่าดัชนีมวลกายที่ต่ำกว่าเกณฑ์ ดังนั้นการประเมินภาวะเสี่ยงต่อการกลืนลำบาก ที่ส่งผลให้ผู้ป่วยมีน้ำหนักต่ำกว่าเกณฑ์ สามารถใช้เป็นแนวทางวางแผนจัดการปัจจัยกระตุ้นให้เกิดอาการกำเริบเฉียบพลันของโรค ร่วมกันในทีมสหสาขาวิชาชีพได้ | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | สภาวะปริทันต์ ภาวะปากแห้ง ภาวะกลืนลำบาก โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง อาการกำเริบเฉียบพลัน | th |
dc.subject | oral health dry mouth dysphagia COPD exacerbation | en |
dc.subject.classification | Dentistry | en |
dc.title | การศึกษาสภาวะสุขภาพช่องปาก ภาวะปากแห้ง และ การกลืนในกลุ่มผู้สูงอายุโรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง โรงพยาบาลแม่ลาว จังหวัดเชียงราย | th |
dc.title | A study of oral health status , dry mouth and dysphagia in COPD elderly patients in Maelao hospital , Chiang rai province | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะทันตแพทยศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
62060965.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.