Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3875
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorTHANYARAT WONGCHANAen
dc.contributorธัญญารัตน์ วงค์ชนะth
dc.contributor.advisorPattanawadee Pattanathaburten
dc.contributor.advisorพัฒนาวดี พัฒนถาบุตรth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-09-29T03:03:55Z-
dc.date.available2021-09-29T03:03:55Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3875-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe purposes of this research were to study the behaviors and factors influencing stroke prevention behaviors among the 416 patients having uncontrolled hypertension in Mueang District, Phitsanulok Province. These patients were selected by cluster sampling. The data were collected during January – March in 2020. The instrument used in this research was a questionnaire consisting of 4 parts; 1) personal information, 2) awareness of having stroke, 3) social support, and 4) stroke prevention behaviors. The instrument quality was examined for the content validity by 3 experts and its IOC values were between 0.6-1. For Part 2 – 4, the Coefficient Cronbach values were analyzed and they were between 0.75 – 0.90. The data were analyzed by descriptive statistics, that is, frequency, percentage, mean, standard deviation, and stepwise multiple linear regression with the statistically significance level at .05. The results were found that the level of stroke prevention behaviors among most of the samples was moderate. (mean = 70.21, S.D. = 6.9). The factors affecting stroke prevention behaviors were the awareness of the expectation of self-efficacy for stroke prevention, gender, and marriage status. These can be predictive factors, 16.4%, for influencing stroke prevention behaviors. The suggestions gained from the research are that the relating organizations should design some activities to change stroke prevention behaviors among the patients having uncontrolled hypertension . The activities can be focused on the one promoting awareness of self-efficacy of the patients   for stroke prevention.en
dc.description.abstractการวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาพฤติกรรมและปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยโรคความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 416 คน ใช้วิธีสุ่มตัวอย่างแบบกลุ่ม (Cluster Sampling) เก็บรวบรวมข้อมูลระหว่างเดือน มกราคม – มีนาคม 2563 เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม ประกอบด้วย 4 ส่วน ได้แก่ 1) ข้อมูลส่วนบุคคล 2) การรับรู้เกี่ยวกับโรคหลอดเลือดสมอง 3) การได้รับแรงสนับสนุนทางสังคม 4) พฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ผ่านการตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือโดยผู้เชี่ยวชาญ จำนวน 3 ท่าน ตรวจสอบความตรงของเนื้อหา ได้ค่าดัชนีความสอดคล้อง (IOC) 0.6-1 และวิเคราะห์ค่าความเชื่อมั่น (Coefficient Cronbach) ส่วนที่ 2 – 4 อยู่ที่ 0.75 -  0.90 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา ได้แก่ การแจกแจงความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และวิเคราะห์การถอถอยพหุคูณแบบขั้นตอน ที่ระดับนัยสำคัญ 0.05 ผลการศึกษาพบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่มีพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองอยู่ในระดับปานกลาง (mean = 70.21 , S.D. = 6.9) ปัจจัยที่มีผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง ได้แก่ การรับรู้ความคาดหวังในความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมอง เพศ สถานภาพสมรส ซึ่งสามารถร่วมทำนายพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองได้ ร้อยละ 16.4 ข้อเสนอแนะจากงานวิจัย หน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรออกแบบกิจกรรมการปรับเปลี่ยนพฤติกรรม การป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ โดยเน้นกิจกรรมที่ส่งเสริมให้ผู้ป่วยเกิด การรับรู้ความคาดหวังในความสามารถของตนเองในการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectโรคหลอดเลือดสมอง , ความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ , พฤติกรรมการป้องกันโรคth
dc.subjectCerebrovascular disease Uncontrolled Hypertension Prevention behavioren
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่ส่งผลต่อพฤติกรรมการป้องกันโรคหลอดเลือดสมองของผู้ป่วยความดันโลหิตสูงที่ควบคุมไม่ได้ อำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleFactors affecting to preventive behavior of stroke patients among uncontrolled-hypertensive patients in Muang District, Phitsanulok Provinceen
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061130.pdf1.65 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.