Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3574
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | JIRASIN WIWATMANITSAKUL | en |
dc.contributor | จิรสิน วิวัฒน์มานิตสกุล | th |
dc.contributor.advisor | Weerapong Chidnok | en |
dc.contributor.advisor | วีระพงษ์ ชิดนอก | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Allied Health Sciences | en |
dc.date.accessioned | 2021-09-13T02:53:30Z | - |
dc.date.available | 2021-09-13T02:53:30Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3574 | - |
dc.description | Master of Science (M.S.) | en |
dc.description | วิทยาศาสตรมหาบัณฑิต (วท.ม.) | th |
dc.description.abstract | The objectives of this thesis were to investigate the safety and efficacy 8-weeks of respiratory muscle training using the NU SpiroBreath device in healthy subjects. Seventeen healthy female subjects were randomly allocated into two groups, the control group (n=8) and the training group (n=9). The control group were asked to maintain their regular lifestyle for 8-weeks. The training group completed respiratory muscle training using the NU SpiroBreath device with resistance set at 10 cmH2O (10 repetitions/set, 3 sets/day, 5 days a week) for 8 weeks. Cardiorespiratory parameters (blood pressure; pulse rate; arterial oxygen saturation) were assessed during training and 30-min recovery periods in the first training session. Maximal inspiratory pressure (MIP) and maximal expiratory pressure (MEP) were assessed pre-training and after 4 and 8 weeks of the intervention period in the training and control groups. Data were analyzed using two-way mixed-model ANOVAs with post-hoc analysis performed using Bonferroni corrected t-tests for respiratory muscle strength variables and K-related sample Friedman test for cardiorespiratory parameters. In the first training session, there were no significant changes in cardiorespiratory parameters for the training group (p>0.05). In addition, there were no significant changes in MIP within or between groups in 8-weeks post-training compared to pre-training and after 4 weeks post-training (p>0.05). There were significant changes in MEP for training group in 8-weeks post-training compared to pre-training (59.9±22 VS 72.0±19; p<0.05). In conclusion, respiratory muscle training using NU SpiroBreath device can be implemented safely but was not able to improve respiratory muscle strength in healthy subjects. | en |
dc.description.abstract | วิทยานิพนธ์นี้มีจุดประสงค์เพื่อศึกษาความปลอดภัยและประสิทธิผลของการฝึกกล้ามเนื้อหายใจด้วยอุปกรณ์ NU SpiroBreath ในผู้ที่มีสุขภาพดี อาสาสมัครเพศหญิงสุขภาพดี จำนวน 17 คน แบ่งสุ่มแบ่งเป็น 2 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มควบคุม (n=8) และ กลุ่มทดลอง (n=9) กลุ่มควบคุมได้รับคำแนะนำให้ปฏิบัติตัวในชีวิตประจำวันปกติ กลุ่มทดลองได้รับการฝึกกล้ามเนื้อหายใจโดยใช้อุปกรณ์ NU SpiroBreath ด้วยแรงต้านการหายใจ 10 เซนติเมตรน้ำ (จำนวน 10 ครั้งต่อชุด, 3 ชุดต่อวัน, 5 วันต่อสัปดาห์) เป็นระยะเวลา 8 สัปดาห์ ตัวแปรระบบไหลเวียนโลหิตและทางเดินหายใจ (ความดันโลหิต, อัตราชีพจร, ความอิ่มตัวของออกซิเจนในเลือด) ถูกวัดขณะได้รับการฝึกและหลังการฝึกนาน 30 นาทีในการฝึกกล้ามเนื้อหายใจครั้งแรก อาสาสมัครทั้ง 2 กลุ่มได้รับการทดสอบความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ ก่อนการฝึกและหลังการฝึกในสัปดาห์ที่ 4 และ 8 จากนั้นนำมาวิเคราะห์ผลทางสถิติโดยเปรียบเทียบแรงดันการหายใจเข้าสูงสุด (Maximal Inspiratory Pressure: MIP) และแรงดันการหายใจออกสูงสุด (Maximal Expiratory Pressure: MEP) ระหว่างก่อน ระหว่าง และหลังการทดลองด้วยสถิติแบบ Two-way Mixed-design ANOVAs และ Post-hoc analysis ด้วย Bonferroni corrected t-tests และเปรียบเทียบการวัดตัวแปรทางระบบไหลเวียนโลหิตและทางเดินหายใจก่อนการฝึก ขณะฝึก และหลังการฝึกครั้งแรกโดยการใช้สถิติ k-related sample Friedman test ผลการศึกษาพบว่าในการฝึกกล้ามเนื้อหายใจครั้งแรกไม่พบการเปลี่ยนแปลงอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติของตัวแปรทางระบบไหลเวียนโลหิตและทางเดินหายใจก่อน ระหว่าง และหลังการฝึกกล้ามเนื้อหายใจด้วยอุปกรณ์ NU SpiroBreath (p>0.05) หลังการฝึก 8 สัปดาห์ ค่า MIP เปลี่ยนแปลงอย่างไม่มีนัยสำคัญทางสถิติภายในอาสาสมัครทั้ง 2 กลุ่มเมื่อเทียบกับค่าก่อนฝึกและเมื่อเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม (p>0.05) นอกจากนี้ หลังการฝึก 8 สัปดาห์ พบว่าค่า MEP เพิ่มขึ้นอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติในกลุ่มทดลองเมื่อเทียบกับค่าก่อนฝึก (59.9±22 VS 72.0±19; p<0.05) สรุปได้ว่าการฝึกกล้ามเนื้อหายใจด้วยอุปกรณ์ NU SpiroBreath มีความปลอดภัย แต่การฝึกกล้ามเนื้อหายใจด้วยอุปกรณ์ NU SpiroBreath ระยะเวลา 8 สัปดาห์ไม่สามารถเพิ่มความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจผู้ที่มีสุขภาพดี | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | การฝึกกล้ามเนื้อหายใจ | th |
dc.subject | ความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจ | th |
dc.subject | อุปกรณ์ฝึกสมรรถภาพหายใจ | th |
dc.subject | ตัวแปรทางระบบไหลเวียนโลหิตและทางเดินหายใจ | th |
dc.subject | อาสาสมัครสุขภาพดี | th |
dc.subject | Respiratory Muscle Training | en |
dc.subject | Respiratory Muscle Strength | en |
dc.subject | NU SpiroBreath | en |
dc.subject | Cardiorespiratory Parameter | en |
dc.subject | Healthy Subjects | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | ผลของการฝึกกล้ามเนื้อหายใจด้วยอุปกรณ์ฝึกสมรรถภาพหายใจ NU SpiroBreath ต่อความแข็งแรงของกล้ามเนื้อหายใจในผู้ที่มีสุขภาพดี | th |
dc.title | Effect of Respiratory muscle training using NU SpiroBreath device on respiratory muscle strength in healthy subjects | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะสหเวชศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60060530.pdf | 3.05 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.