Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3226
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPUSIT KANKASIKAMen
dc.contributorภูษิต ขันกสิกรรมth
dc.contributor.advisorChakkraphan Phetphumen
dc.contributor.advisorจักรพันธ์ เพ็ชรภูมิth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-08-31T04:05:05Z-
dc.date.available2021-08-31T04:05:05Z-
dc.date.issued2564en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/3226-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe objective of this survey research was to study factors affecting the performance of village health volunteers according to the guidelines for tuberculosis control in Phitsanulok Province. The sample was 414 village health volunteers in Phitsanulok Province. A questionnaire was used as a research instrument for data collection. Data were analyzed by using descriptive statistics and stepwise multiple regression. The results of this study indicated that most of the respondents were females (82.10 percent). An average age was 48.29 years. The respondents’ age ranged from 20 years to 76 years. Most of them were agriculturists (45.40 percent), earned monthly family income of 9,840.28 baht. An average period of being Village Health Volunteers was 12.23 years. There was a high level of performance of village health volunteers according to the guidelines for tuberculosis control (40.30 percent). In addition, factors affecting the performance of village health volunteers according to the guidelines for tuberculosis control were occupation (Beta=0.075), appraisal support (Beta=0.225), instrumental support (Beta=0.191), emotional support (Beta=0.292), attitude towards care for patients with tuberculosis (Beta = 0.187) and age (Beta= -0.075), respectively. All 6 factors could jointly predict 50.90 percent of the variance in the performance of village health volunteers according to the guidelines for tuberculosis control in Phitsanulok Province, with a statistical significance level of 0.05. Therefore, the findings would be beneficial to be applied as the guidelines in planning the development of tuberculosis control practice of the village health volunteers in greater efficient manner.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงสำรวจครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามแนวทางการควบคุมวัณโรค ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง คือ อาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน (อสม.) จังหวัดพิษณุโลก จำนวน 414 คน เก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และสถิติวิเคราะห์ การถดถอยพหุคูณแบบขั้นตอน (Stepwise multiple regression) ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านจังหวัดพิษณุโลก ส่วนใหญ่เป็นเพศหญิงคิดเป็นร้อยละ 82.10 และมีอายุเฉลี่ย 48.29 ปี อายุมากที่สุด 76 ปี อายุน้อยที่สุด 20 ปี ประกอบอาชีพเกษตรกรรมมากที่สุด คิดเป็นร้อยละ 45.40 มีรายได้ของครอบครัวเฉลี่ยต่อเดือน เฉลี่ย 9,840.28 บาท และมีระยะเวลาการเป็น อสม. 12.23 ปี มากที่สุด 43 ปี น้อยที่สุด 1 ปี มีการปฏิบัติงานตาม แนวทางควบคุมวัณโรคอยู่ในระดับมาก ร้อยละ 40.30 ปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติงานตามแนวทางการควบคุมวัณโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดพิษณุโลก ได้แก่ อาชีพ (Beta=0.075) การได้รับแรงสนับสนุนด้านการให้การประเมินผล (Beta=0.225) การได้รับ แรงสนับสนุนด้านเครื่องมือ (Beta=0.191) การได้รับแรงสนับสนุนด้านอารมณ์ (Beta=0.292) ทัศนคติที่ดีต่อการควบคุมวัณโรคในชุมชน (Beta = 0.187) และอายุ (Beta= -0.075) ตามลำดับ โดยปัจจัยทั้งหมด 6 ปัจจัย สามารถร่วมกันพยากรณ์ การปฏิบัติงานตามแนวทางการควบคุม วัณโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน ได้ร้อยละ 50.90 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ดังนั้น ผลการศึกษาในครั้งนี้สามารถนำไปใช้ประกอบการวางแผนพัฒนาการปฏิบัติ งานด้านการควบคุมวัณโรค ของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน เพื่อให้เป็นไปอย่างประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น            th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectแนวทางการควบคุมวัณโรคth
dc.subjectวัณโรคth
dc.subjectอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้านth
dc.subjectGuidelines for Tuberculosis Controlen
dc.subjectTuberculosisen
dc.subjectVillage Health Volunteersen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีผลต่อการปฏิบัติตามแนวทางการควบคุมวัณโรคของอาสาสมัครสาธารณสุขประจำหมู่บ้าน จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleFactors affecting the practice of TB control guidelines of village health volunteers Phitsanulok province.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61061871.pdf2.8 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.