Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2559
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorWACHAKORN NOPNARINen
dc.contributorวชากร นพนรินทร์th
dc.contributor.advisorThanach Kanoktheten
dc.contributor.advisorธนัช กนกเทศth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-06-01T04:36:40Z-
dc.date.available2021-06-01T04:36:40Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2559-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThe aim of this predictive research was to study factors influencing preparation for becoming Quality elderly people in mueang district, phitsanulok province. The samples, with multi-stage sampling, included 250 samples with people 55-59 years old. Data were collected by using questionnaire, with a reliability of 0.86, analyzed by using descriptive statistics and stepwise multiple regression analysis, was found at significant level of 0.05. The results showed that 67.8% had a moderate social support, 69.6% had a high level of knowledge about how to prepare for being an elderly person, 70.8% had a high level of attitude towards preparing for being elderly and 58.8% had a high level of preparation for being elderly. For factors influencing preparation for becoming quality elderly people in mueang district, phitsanulok province, there were 4 factors as follows : attitude towards preparing for being elderly (r = 0.752, p < 0.001), knowledge about how to prepare for being an elderly person (r = 0.551, p < 0.001), social support (r = 0.532, p < 0.001) and age (r = 0.163, p = 0.001) respectively. All four factors predicted the preparation for becoming quality elderly people in mueang district, phitsanulok province at 68.3% with the significant level of 0.05.en
dc.description.abstractการวิจัยเชิงพยากรณ์นี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ บุคคลที่มีอายุระหว่าง  50-59  ปี จำนวน 250 คน สุ่มตัวอย่างแบบหลายขั้นตอน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบสอบถามที่มีค่าความเชื่อมั่น 0.86 วิเคราะห์ข้อมูลด้วยสถิติเชิงพรรณนา และทดสอบสมมติฐานการวิจัยด้วยสถิติการวิเคราะห์ถดถอยพหุคูณแบบทีละขั้นที่ระดับนัยสำคัญทางสถิติ 0.05  ผลการวิจัย พบว่า กลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่ ร้อยละ 64.8 มีแรงสนับสนุนทางสังคมอยู่ในระดับปานกลาง ร้อยละ 69.6 มีความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุในระดับมาก ร้อยละ 70.8 มีทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก และร้อยละ 58.8 มีการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุอยู่ในระดับมาก สำหรับปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก มีจำนวน 4 ปัจจัย ได้แก่ ทัศนคติต่อการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุ (r = 0.752, p < 0.001), ความรู้เกี่ยวกับการเตรียมความพร้อมการเป็นผู้สูงอายุ (r = 0.551, p < 0.001), แรงสนับสนุนทางสังคม (r = 0.532, p < 0.001) และอายุ (r = 0.163, p = 0.001) ตามลำดับ โดยปัจจัยทั้ง 4 ร่วมพยากรณ์การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลก ได้ร้อยละ 68.3 อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการเตรียมความพร้อมth
dc.subjectผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพth
dc.subjectประชาชนth
dc.subjectPreparationen
dc.subjectQuality old peopleen
dc.subjectPeopleen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นผู้สูงวัยอย่างมีคุณภาพของประชาชน ในอำเภอเมือง จังหวัดพิษณุโลกth
dc.titleFactors Influencing the Elderly Retirement Preparation Behavior in Muang District, Phitsanulok Province.en
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61062007.pdf1.73 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.