Please use this identifier to cite or link to this item:
http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2326
Full metadata record
DC Field | Value | Language |
---|---|---|
dc.contributor | CHAIYA THADAENG | en |
dc.contributor | ไชยา ท่าแดง | th |
dc.contributor.advisor | Nithra Kitreerawutiwong | en |
dc.contributor.advisor | นิทรา กิจธีระวุฒิวงษ์ | th |
dc.contributor.other | Naresuan University. Faculty of Public Health | en |
dc.date.accessioned | 2021-03-05T06:49:06Z | - |
dc.date.available | 2021-03-05T06:49:06Z | - |
dc.date.issued | 2563 | en_US |
dc.identifier.uri | http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2326 | - |
dc.description | Master of Public Health (M.P.H.) | en |
dc.description | สาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.) | th |
dc.description.abstract | This quasi experimental research aimed to compare self-efficacy, self-management behavior, fasting plasma glucose (FPG), and hemoglobin A1C (HbA1C) of type 2 diabetes mellitus patients (T2DM) in the experimental group and the control group. T2DM patients were divided into 2 groups, consisted of 43 patients per group. The control group received self-management program for 12 weeks while the control group received the usual care. The instrument included: 1) self-management program, 2) self-efficacy questionnaire, 3) self-management questionnaire, and 4) record form of blood glucose level and HbA1C. Data were analyzed by descriptive statistics, independent t-test, ANCOVA by using a pre-test as a covariate variable and paired t-test. Health professional should be designing an intervention based on self-management support in type 2 diabetes patients by reminding goal setting behavior and evaluates collaboratively goal by patients and health professional. The result revealed that after the experiment, comparing within group demonstrated that the experimental group had the mean score of self-efficacy, self- management behavior (p<0.05) and FPG were significantly improve than prior experiment (p < 0.001) whereas HbA1C was not significant difference between prior and after experiment. While comparison between group, it was found that the mean score of self-efficacy of the experimental group and the control group were not significance difference (t = -0.29, p = .772). Where as self-management behavior (t = -2.498, p = 0.014), FPG (t = 5.010, p < 0.001), and HbA1C (t = 4.549, p < 0.001) were significantly improve when compare to the control group. The findings indicated that self-management program contribute to enhance the capability of self-efficacy lead to improve managing themselves and control FPG. Nevertheless, self-management behavior should be continually practicing. | en |
dc.description.abstract | การวิจัยแบบกึ่งทดลอง มีวัตถุประสงค์ เพื่อเปรียบเทียบการรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการจัดการตนเอง ระดับกลูโคสในเลือด และระดับฮีโมโกลบินเอวันซีของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 ระหว่างกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มตัวอย่างเป็นผู้ป่วยโรคเบาหวานชนิดที่ 2 แบ่งออกเป็นกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบกลุ่มละ 43 คน กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมการจัดการตนเองระยะเวลา 12 สัปดาห์ กลุ่มเปรียบเทียบได้รับการดูแลตามปกติ เครื่องมือในการวิจัย ประกอบด้วย 1) โปรแกรมการจัดการตนเอง 2)แบบสอบถามการรับรู้สมรรถนะแห่งตน 3) แบบสอบถามพฤติกรรมการจัดการตนเอง และ 4) แบบบันทึกระดับน้ำตาลในเลือดและระดับฮีโมโกลบินเอวันซี วิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา สถิติทดสอบ independent t-test ANCOVA โดยใช้ค่า pre-test เป็นตัวแปรร่วมในการศึกษา และ paired t-test ผู้ให้บริการสุขภาพ ควรออกแบบโปรแกรมในการดูแลด้วยการสนับสนุนให้มีการจัดการตนเองในผู้ป่วยเบาหวานชนิดที่ 2 โดยมีการติดตามย้ำเตือนการพฤติกรรมตามเป้าหมายที่ตั้งไว้ และประเมินผลพฤติกรรมร่วมกันระหว่างผู้ป่วยและผู้ให้บริการสุขภาพ ผลการวิจัย พบว่า ภายหลังการทดลอง การเปรียบเทียบภายในกลุ่ม กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการจัดการตนเอง (p < 0.05) และค่าเฉลี่ยระดับกลูโคสในเลือดดีกว่าก่อนทดลองอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) ส่วนระดับฮีโมโกลบินเอวันซี ไม่มีความแตกต่างระหว่างก่อนและหลังการทดลอง ส่วนการเปรียบเทียบระหว่างกลุ่ม พบว่า กลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยการรับรู้สมรรถนะแห่งตนไม่แตกต่างกับกลุ่มเปรียบเทียบ ในขณะที่พฤติกรรมการจัดการตนเอง ระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหาร และระดับฮีโมโกลบินเอวันซี ดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ (p < 0.001) ผลการวิจัยนี้แสดงให้เห็นว่า โปรแกรมการจัดการตนเองทำให้เพิ่มความสามารถของการรับรู้สรรถนะแห่งตนส่งผลให้มีพฤติกรรมการตนเองที่ดีขึ้น ควบคุมระดับน้ำตาลในเลือดหลังงดอาหารได้ อย่างไรก็ตามการปฏิบัติควรมีการดำเนินการอย่างต่อเนื่อง | th |
dc.language.iso | th | en_US |
dc.publisher | Naresuan University | en_US |
dc.rights | Naresuan University | en_US |
dc.subject | โปรแกรมการจัดการตนเอง | th |
dc.subject | การรับรู้สมรรถนะแห่งตน | th |
dc.subject | พฤติกรรมการจัดการตนเอง | th |
dc.subject | ระดับน้ำตาลในเลือด | th |
dc.subject | ระดับน้ำตาลเกาะสะสมเม็ดเลือดแดง | th |
dc.subject | Self-management program | en |
dc.subject | Self- efficacy | en |
dc.subject | Self-management behaviors | en |
dc.subject | Fasting plasma glucose | en |
dc.subject | Hemoglobin A1C | en |
dc.subject.classification | Health Professions | en |
dc.title | ผลของโปรแกรมการจัดการตนเองต่อการรับรู้สมรรถนะแห่งตน พฤติกรรมการจัดการตนเอง ระดับน้ำตาลในเลือด และระดับน้ำตาลสะสมเกาะเม็ดเลือดแดงของผู้ที่เป็นโรคเบาหวานชนิดที่ 2 อำเภอเมือง จังหวัดอ่างทอง | th |
dc.title | Effect of self-management program on self-efficacy, self-management behaviors, fasting plasma glucose, and Hemoglobin A1C among type 2 diabetes mellitus patients in Muang District, Angthong Province | en |
dc.type | Thesis | en |
dc.type | วิทยานิพนธ์ | th |
Appears in Collections: | คณะสาธารณสุขศาสตร์ |
Files in This Item:
File | Description | Size | Format | |
---|---|---|---|---|
60060806.pdf | 5.28 MB | Adobe PDF | View/Open |
Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.