Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1731
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorPRANEE PANDEEen
dc.contributorปราณี แผนดีth
dc.contributor.advisorThanach Kanoktheten
dc.contributor.advisorธนัช กนกเทศth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2020-12-17T06:29:28Z-
dc.date.available2020-12-17T06:29:28Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/1731-
dc.descriptionMaster of Public Health (M.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรมหาบัณฑิต (ส.ม.)th
dc.description.abstractThis study was the quasi experimental research which its objective was to study the effect of smoking cessation promotion program on smoking cessation behavior of students at Kamphaengphet Rajabhat University. It would compare of knowledge, perceived self–efficacy  and self–efficacy  Behaviour, inside and between the group of the control group and the experimental group, pre–test and  post– test : first post–test at the immediate end of the experiment, the second post – test after the experiment 10 weeks. The sampling group was the students at Kamphaengphet Rajabhat University, who are studying Bachelor's Degree Year 1 - 2. The experimental group was 30 students and the controlled group was 30 students. Both groups came from the different campus in the same university. The experimental group had attend the Program; and then their data was analyzed in average, amount, frequency, percentage, t-test statistic, and repeated measures ANOVA. Research found Within the experiment, the average score of knowledge about cigarettes. Self-efficacy for quitting smoking Expectations for the results of quitting smoking In the experimental group was significantly higher than the comparison group, and the nicotine addiction level was significantly lower than that of the 0.05 group.In the comparison group The 10-week follow-up period found that all four aspects were different. And the experimental group had a mean score of all 4 aspects and the results were better than the comparison group Statistically significant at a level of 0.05en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นการวิจัยแบบกึ่งทดลอง  มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาผลของโปรแกรมการส่งเสริมการลดสูบบุหรี่ต่อพฤติกรรมการลดสูบบุหรี่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชร กลุ่มตัวอย่างเป็นนักศึกษาชายที่กำลังศึกษาระดับปริญญาตรี ชั้นปีที่ 1 - 2 ของมหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร ได้กลุ่มตัวอย่าง  จำนวน 60 คน ที่มีคุณสมบัติตามเกณฑ์ที่กำหนด  คัดเลือกด้วยวิธีสุ่มแบบจำเพาะเจาะจง โดยแบ่งกลุ่มตัวอย่างออกเป็น 2 กลุ่ม คือกลุ่มทดลองและกลุ่มเปรียบเทียบ กลุ่มละ 30  คน เก็บรวบรวมข้อมูลด้วยแบบทดสอบก่อนการทดลอง  หลังการทดลองทันทีในสัปดาห์ที่ 4  หลังการทดลองในสัปดาห์ที่ 6 และระยะติดตามผลในสัปดาห์ที่ 10 โดย กลุ่มทดลองได้รับโปรแกรมที่ผู้วิจัยได้จัดขึ้น วิเคราะห์ข้อมูลด้วยค่าเฉลี่ย จำนวน  ความถี่  ร้อยละ  สถิติเปรียบเทียบ t-test  และวิเคราะห์ความแปรปรวนแบบวัดซ้ำ(Repeated measures ANOVA)  การวิจัย พบว่า ภายในการทดลองคะแนนเฉลี่ยความรู้เกี่ยวกับบุหรี่  การรับรู้ความสามารถตนเองในการเลิกบุหรี่ ความคาดหวังในผลลัพธ์ของการเลิกสูบบุหรี่ ในกลุ่มทดลองสูงกว่ากลุ่มเปรียบเทียบและระดับการติดนิโคติน ต่ำกว่า กลุ่มเปรียบเทียบอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 ส่วนในกลุ่มเปรียบเทียบ ระยะเวลาติดตาม 10 สัปดาห์ พบว่า ทั้ง 4 ด้าน  มีความแตกต่างกัน และกลุ่มทดลองมีคะแนนเฉลี่ยทั้ง 4 ด้าน มีผลออกมาดีกว่ากลุ่มเปรียบเทียบ อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 แสดงให้เห็นว่าผลของโปรแกรมการส่งเสริมการลดการสูบบุหรี่มีผลต่อพฤติกรรมการลดการสูบบุหรี่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร สามารถช่วยให้ผู้สูบบุหรี่สามารถลดสูบบุหรี่ได้th
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectโปรแกรมการส่งเสริมการลดสูบบุหรี่th
dc.subjectพฤติกรรมการลดสูบบุหรี่th
dc.subjectนักศึกษาth
dc.subjectSmoking promotion programen
dc.subjectSmoking reduction behavioren
dc.subjectStudenten
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleผลของโปรแกรมการส่งเสริมการลดสูบบุหรี่ต่อพฤติกรรมการลดสูบบุหรี่ของนักศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏกำแพงเพชร จังหวัดกำแพงเพชรth
dc.titleEffects of smoking cessation promotion program on Smoking Cessation Behavior of Kamphaengphet Rajabhat University Students. Khampangpheten
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
60061568.pdf3.78 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.