Please use this identifier to cite or link to this item: http://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2327
Full metadata record
DC FieldValueLanguage
dc.contributorNATTAYA KAMSAWANGen
dc.contributorนาตยา คำสว่างth
dc.contributor.advisorSupaporn Sudnongbuaen
dc.contributor.advisorสุภาภรณ์ สุดหนองบัวth
dc.contributor.otherNaresuan University. Faculty of Public Healthen
dc.date.accessioned2021-03-05T06:49:07Z-
dc.date.available2021-03-05T06:49:07Z-
dc.date.issued2563en_US
dc.identifier.urihttp://nuir.lib.nu.ac.th/dspace/handle/123456789/2327-
dc.descriptionDoctor of Public Health (Dr.P.H.)en
dc.descriptionสาธารณสุขศาสตรดุษฎีบัณฑิต (ส.ด.)th
dc.description.abstractMixed Methods research were employed in this study compounded with four phases. Four objectives related to four phases: 1) to explain community participation situation and factor of caring end-stage renal disease patients with kidney transplantation by using multiple case study as in-depth interview with 10 informants, 2) to investigate factors affecting health care of end-stage renal disease patients with kidney transplantation by cross-sectional study with 300 samples in 8 provinces, 3) was to develop the community participation model by focus group discussion with 18 informants included family members, care givers, community leaders, village health volunteers, and district hospital officials, 4) to evaluate the effectiveness of the community participation model by quasi-experimental study with an experimental and control group 30 samples per each group. The outcome of this study illustrated that level of community participation was low as well as non-participated. Factors affecting community participation were social support (Beta=0.441, p=0.000), community care (Beta=0.332, p=0.000), high income (Beta= -0.169, p=0.000), social role of government officials (Beta= 0.83, p=0.026), and regular participation for community activities (Beta= 0.076, p=0.036). These factors could predict community participation in caring end-stage renal disease patients with kidney transplantation 62% (Adjusted R2=0.62). In addition, a model of this community participation should be operated by a NEWTAI model which was found in this study. The model compounded with 6 elements such as 1) promotion of enough social support, 2) care of patients with kidney transplantation with knowing, 3) financial support, 4) establishment of care team for patients with kidney transplantation in community, 5) regular activities and making people trust primary care of this care in community 6) cooperation of network partners and connection of data information. After implementing the model with quasi-experimental study, it was found that the model was significantly different at 0.001 (P< 0.001). Therefore, this model should be employed for community participation of caring end stage renal disease patients with kidney transplantation in order to improve these patients’ quality of life due to community style, and to follow up the result of those care in the long run.en
dc.description.abstractการศึกษาครั้งนี้ เป็นวิจัยเชิงผสมผสาน แบ่งขั้นตอนการดำเนินการวิจัยเป็น 4 ระยะ โดยมีวัตถุประสงค์ดังนี้ ระยะที่ 1 เพื่อศึกษาสถานการณ์และปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ด้วยวิธีการสัมภาษณ์เชิงลึก อาสาสมัครเป็นชุมชนที่ดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไต จำนวน 10 คน ระยะที่ 2 เพื่อศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการปลูกถ่าย ด้วยวิธีการศึกษาแบบภาคตัดขวาง กลุ่มตัวอย่างเป็นชุมชนใน 8 จังหวัดภาคเหนือตอนล่าง จำนวน 300 คน ระยะที่ 3  เพื่อพัฒนารูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนด้วยวิธีการสนทนากลุ่ม อาสาสมัครเป็นชุมชนแบ่งเป็น 3 กลุ่ม ได้แก่ กลุ่มครอบครัว/ผู้ดูแล กลุ่มผู้นำชุมชน/อสม กลุ่มเจ้าหน้าที่รัฐ/รพ.สต จำนวนกลุ่มละ 6 คน รวม 18 คน และระยะที่ 4  เพื่อประเมินประสิทธิผลของรูปแบบโดยใช้วิธีการวิจัยกึ่งทดลอง กลุ่มตัวอย่างเป็นชุมชนแบ่ง 2 กลุ่ม คือ กลุ่มทดลองและกลุ่มควบคุมจำนวนกลุ่มละ 30 คน ผลการศึกษา พบว่า สถานการณ์การมีส่วนร่วมของชุมชนมีส่วนร่วมน้อยและไม่มีส่วนร่วม ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการมีส่วนร่วมของชุมชน ได้แก่  แรงสนับสนุนทางสังคม (Beta=0.441, p=0.000)  การดูแลของชุมชน (Beta=0.332, p=0.000) รายได้สูง (Beta= -0.169, p=0.000) บทบาททางสังคมของเจ้าหน้าที่รัฐ (Beta= 0.83, p=0.026) และการเข้าร่วมกิจกรรมชุมชนสม่ำเสมอ (Beta= 0.076, p=0.036) โดยตัวแปรทั้ง 5 ตัวร่วมทำนายการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ได้ร้อยละ 62 (Adjusted R2=0.62) รูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนต้องมีการดำเนินการภายใต้ NEWTAI model ซึ่งเป็นผลจากงานวิจัยนี้ โมเดลนี้ประกอบด้วย 6 องค์ประกอบ ได้แก่ 1) การส่งเสริมให้มีแรงสนับสนุนทางสังคมอย่างเพียงพอ 2) การดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไตอย่างรู้แจ้ง 3) การสนับสนุนด้านการเงิน 4) การจัดตั้งทีมการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไตในชุมชน 5) การจัดกิจกรรมสม่ำเสมอและสร้างความเชื่อมั่นในบริการปฐมภูมิสำหรับการดูแลผู้ป่วยปลูกถ่ายไตในชุมชน  6) การผสานการมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายและเชื่อมต่อข้อมูล เมื่อนำรูปแบบนี้ไปทดลองพบว่ามีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.001 (P< 0.001) จึงควรนำรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนไปใช้ในการดูแลไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีสอดคล้องกับวิถีชุมชนและติดตามผลลัพธ์ในระยะยาวต่อไปth
dc.language.isothen_US
dc.publisherNaresuan Universityen_US
dc.rightsNaresuan Universityen_US
dc.subjectการมีส่วนร่วมของชุมชนth
dc.subjectผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายth
dc.subjectการปลูกถ่ายไตth
dc.subjectCommunity participationen
dc.subjectCaring end stage renal diseaseen
dc.subjectPatients kidney transplantationen
dc.subject.classificationHealth Professionsen
dc.titleรูปแบบการมีส่วนร่วมของชุมชนในการดูแลผู้ป่วยไตวายเรื้อรังระยะสุดท้ายที่ได้รับการปลูกถ่ายไต ในเขตภาคเหนือตอนล่างของประเทศไทยth
dc.titleA community participation  model  of  caring end stage renal disease patients with kidney transplantation  in Lower Northern  Thailanden
dc.typeThesisen
dc.typeวิทยานิพนธ์th
Appears in Collections:คณะสาธารณสุขศาสตร์

Files in This Item:
File Description SizeFormat 
61030600.pdf10.4 MBAdobe PDFView/Open


Items in NU Digital Repository are protected by copyright, with all rights reserved, unless otherwise indicated.